NBTC
ONE STOP SERVICE
สำนักงาน กสทช.
Home
E-Learning
E-Practice
เปลี่ยนภาษา:
Login
เข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ สำหรับคนไทย
Login for Foreigner
สำหรับเจ้าหน้าที่ กสทช.
Light
Dark
เข้าสู่ระบบ สำหรับเจ้าหน้าที่
Username
Password
Login
OTP
เลขที่บัตรประชาชน
ขอรหัสผ่าน
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น ขั้นกลาง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น
ขั้นต้น
ขั้นกลาง
ขั้นสูง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภททั่วไปประจำเรือ (GOC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ Principles of Communications
หมวดที่ 2. F.C.C. Rules & Regulations และ DSC & Alpha-Numeric ID
หมวดที่ 3. Distress, Urgency & Safety Communications และ Section-F: Survival Craft Equip & S.A.R
หมวดที่ 4. VHF-DSC Equipment & Communications และ Maritime Safety Information (M.S.I.)
หมวดที่ 5. Inmarsat Equip. & Communications และ MF-HF Equip. and Communications
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภทจำกัดเขตเดินเรือทะเล (ROC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ F.C.C. Rules & Regulations
หมวดที่ 2. DSC & Alpha-Numeric ID Systems และ Distress, Urgency & Safety Communication
หมวดที่ 3. Survival Craft Equip & S.A.R, Maritime Safety Information (M.S.I.) และ VHF-DSC Equipment & Communication
เฉลย
ทดสอบอีกครั้ง
คำถามที่ 1/100
90:00
นาที
1
ความถี่ในข้อใดต่อไปนี้ใช้สำหรับติดต่อสื่อสารประเภท A1A กับสถานีกำลังส่งต่ำ QRP
ก.
14 160 kHz
ข.
14 050 kHz
ค.
14 060 kHz
ง.
14 150 kHz
คำถามต่อไป
คำถามที่ 2/100
90:00
นาที
2
ย่านใดต่อไปนี้สามารถใช้การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง FM ได้
ก.
160 เมตร
ข.
20 เมตร
ค.
15 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 3/100
90:00
นาที
3
ย่านใดต่อไปนี้สามารถใช้การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง SSB ได้
ก.
160 เมตร
ข.
30 เมตร
ค.
20 เมตร
ง.
6 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 4/100
90:00
นาที
4
ย่านใดต่อไปนี้ที่บางส่วนถูกจัดสรรไว้สำหรับการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น
ก.
80 เมตร
ข.
20 เมตร
ค.
15 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 5/100
90:00
นาที
5
ย่านใดต่อไปนี้ถูกจัดสรรไว้เพียงบางส่วนสำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางในประเทศไทย
ก.
80 และ 160 เมตร
ข.
20 เมตร
ค.
15 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 6/100
90:00
นาที
6
ท่านสามารถรับสัญญาณจากสถานี Beacons ในย่าน 10 เมตรได้ที่ความถี่ใด
ก.
10 025 kHz
ข.
10 200 kHz
ค.
28 200 kHz
ง.
28 025 kHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 7/100
90:00
นาที
7
ย่านใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดสรรไว้สำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย
ก.
60 เมตร
ข.
40 เมตร
ค.
12 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 8/100
90:00
นาที
8
ผู้ที่ได้รับอนุญาตใช้ความถี่วิทยุสมัครเล่นย่าน HF กำลังส่ง 200 วัตต์ จะต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ก.
ได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง หรือขั้นสูง
ข.
ได้รับการเทียบประกาศนียบัตรเท่ากับพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง หรือขั้นสูง
ค.
หน่วยราชการที่รับผิดชอบเหตุฉุกเฉิน
ง.
ผิดทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 9/100
90:00
นาที
9
ผู้ที่มีสิทธิ์ขอสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง ได้แก่
ก.
บุคคลทั่วไป
ข.
พนักงาน กสทช.
ค.
เป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้นอย่างน้อย 1 ปี
ง.
ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเกิน 10 ปี
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 10/100
90:00
นาที
10
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง เมื่อได้รับอนุญาตให้ตั้งสถานีเพื่อทำ DX นอกสถานที่ของพนักงานวิทยุสมัครเล่น ขั้นกลาง
ก.
ให้ใช้เฉพาะความถี่ที่อนุญาตสำหรับวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง
ข.
ให้ใช้โหมดและความถี่ที่ กสทช. กำหนดในใบอนุญาตนั้น ซึ่งอาจรวมถึงโหมดและความถี่เพื่อการทดลอง
ค.
ไม่อนุญาตให้ใช้ความถี่ VHF
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 11/100
90:00
นาที
11
สถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ที่จัดให้เป็นกิจการหลัก หมายถึง
ก.
สถานีวิทยุคมนาคมที่ส่งสัญญาณตลอดเวลา เพื่อรักษาสิทธิของตนเอง
ข.
สถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับสิทธิคุ้มครองการรบกวนอย่างรุนแรงจากสถานีที่จัดให้เป็นกิจการรอง
ค.
สถานีวิทยุคมนาคมที่ไม่ได้รับสิทธิคุ้มครองการรบกวนอย่างรุนแรงจากสถานีที่จัดให้เป็นกิจการรอง
ง.
สถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับสิทธิใช้ความถี่ใด ๆ ก็ได้
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 12/100
90:00
นาที
12
หน่วยงานใดที่ให้การสนับสนุนกิจการวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก ดูแลและประสานกิจการวิทยุสมัครเล่นของประเทศสมาชิก เป็นผู้สังเกตการณ์ตลอดจนเข้าร่วมประชุมกับสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศเพื่อให้ความเห็นที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่น
ก.
Radio Amateur Society Of Thailand under the Patronage of His Majesty the King
ข.
The Telecommunications Association of Thailand under the Royal Patronage
ค.
International Amateur Radio Union
ง.
United Nations
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 13/100
90:00
นาที
13
ตัวแทนประเทศไทยในฐานะสมาชิกของสหภาพวิทยุสมัครเล่นระหว่างประเทศ (IARU) คือ
ก.
สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข.
สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ค.
สำนักงาน กสทช.
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 14/100
90:00
นาที
14
ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ประเทศไทยอยู่ในภูมิภาคใด
ก.
ภูมิภาคที่ 1
ข.
ภูมิภาคที่ 2
ค.
ภูมิภาคที่ 3
ง.
ภูมิภาคที่ 4
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 15/100
90:00
นาที
15
ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) สหรัฐอเมริกาอยู่ในภูมิภาคใด
ก.
ภูมิภาค 1
ข.
ภูมิภาค 2
ค.
ภูมิภาค 3
ง.
ภูมิภาค 2 และ 3
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 16/100
90:00
นาที
16
ตามข้อกำหนดของสหภาพวิทยุสมัครเล่นสากล (IARU) ประเทศสหรัฐอเมริกาอยู่ในภูมิภาคใด
ก.
ภูมิภาค 1
ข.
ภูมิภาค 2
ค.
ภูมิภาค 3
ง.
ภูมิภาค 2 และ 3
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 17/100
90:00
นาที
17
สถานีวิทยุประเภทใดไม่จำเป็นต้องใช้สัญญาณเรียกขานสากล
ก.
สถานีวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง
ข.
สถานีฝั่งให้บริการติดต่อวิทยุเรือเดินทะเล
ค.
สถานีภาคพื้นดินติดต่อระหว่างประเทศผ่านดาวเทียม
ง.
สถานีวิทยุถ่ายทอดสัญญาณคลื่นวิทยุไมโครเวฟภาคพื้นดิน จากเมืองหลวงไปสู่ต่างจังหวัด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 18/100
90:00
นาที
18
ข้อปฏิบัติของสถานีวิทยุสมัครเล่นในย่าน HF ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ได้แก่
ก.
สถานีวิทยุสมัครเล่นทั้งหมดให้ปิดเครื่องและถอดสายอากาศ
ข.
ให้สถานีวิทยุสมัครเล่นให้หยุดใช้งาน และให้เฝ้าฟังช่วงความถี่เพื่อการสื่อสารฉุกเฉิน
ค.
ใช้ความถี่เป็นปกติเพื่อให้สถานีที่ต้องการขอความช่วยเหลือทราบว่าจะขอความช่วยเหลือได้ที่ความถี่ใด
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 19/100
90:00
นาที
19
เมื่อใดจึงถือว่าอยู่ในสภาวะฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบัติซึ่งพนักงานวิทยุสมัครเล่นทั้งหมดจะต้องหยุดการติดต่อสื่อสาร ยกเว้นสถานีวิทยุสมัครเล่นประสานงานการสื่อสารฉุกเฉิน
ก.
เมื่อรัฐบาลประกาศสภาวะฉุกเฉิน
ข.
เมื่อ กสทช. ประกาศสภาวะฉุกเฉินทางโทรคมนาคม
ค.
เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ และระบบสื่อสารสาธารณะในพื้นที่ขัดข้อง
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 20/100
90:00
นาที
20
พนักงานวิทยุสมัครเล่นสามารถช่วยส่งข่าวจากผู้ประสบภัยไปยังญาติมิตรผ่านคลื่นความถี่วิทยุสมัครเล่นได้ในกรณีใด
ก.
ได้ทุกกรณีเพราะการมีผู้ประสบภัยถือเป็นเหตุฉุกเฉิน
ข.
เมื่อเหตุฉุกเฉินเกิดในที่ซึ่งไม่สามารถใช้โทรศัพท์หรือช่องทางสื่อสารอื่นได้
ค.
แม้เหตุเกิดในที่ชุมชนแต่การส่งข่าวผ่านวิทยุสื่อสารทำให้ประชาชนเห็นประโยชน์ว่าถ้าใช้วิทยุสมัครเล่นไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 21/100
90:00
นาที
21
เหตุใดจึงต้องกำหนดความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA)
ก.
เพื่อให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกได้ใช้สำหรับฝึกฝนตนเองก่อนใช้ติดต่อจริง
ข.
ใช้สำหรับส่งสัญญาณ Beacon
ค.
เพื่อให้เป็นที่ทราบตรงกันทั่วโลกในเวลาเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติว่าต้องใช้ความถี่ใดในการติดต่อ เพื่อลดการรบกวนสถานีสื่อสารฉุกเฉิน และเพื่อให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นประเทศอื่นติดตามข่าวสารรวมถึงให้ความช่วยเหลือถ้าจำเป็น
ง.
เพื่อใช้ในการติดต่อผ่านดาวเทียมสื่อสารวิทยุสมัครเล่น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 22/100
90:00
นาที
22
ในสภาวะปกติ พนักงานวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) ได้หรือไม่
ก.
ไม่ได้ ยกเว้นความถี่เต็มจนไม่สามารถใช้งานได้
ข.
ไม่ได้ เพราะเป็นความถี่ที่กำหนดให้ใช้เฉพาะกรณีฉุกเฉินเท่านั้น
ค.
ได้ แต่ควรปล่อยให้ว่างไว้เผื่อมีผู้แจ้งเหตุฉุกเฉิน
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 23/100
90:00
นาที
23
เมื่อ Emergency Coordinator ของ IARU ขอความร่วมมือในการงดใช้ความถี่บางช่วง เราควรปฏิบัติอย่างไร
ก.
รับทราบและตรวจสอบไปยังสำนักงาน กสทช.
ข.
ลองฟังความถี่นั้นดูก่อน ถ้าไม่มีผู้ใดใช้ ก็สามารถใช้ได้
ค.
ให้ปฏิบัติตามประกาศวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น
ง.
ให้ปฏิบัติตามคำขอแม้จะไม่ได้ยินการใช้งานในความถี่นั้นก็ตาม
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 24/100
90:00
นาที
24
ข้อใดคือความถี่ศูนย์กลางสำหรับการติดต่อประสานงานในเหตุการณ์ฉุกเฉิน (CoA) ที่ IARU กำหนดเพิ่มเติมสำหรับประเทศในภูมิภาคที่ 3
ก.
3 600 kHz
ข.
7 110 kHz
ค.
7 125 kHz
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 25/100
90:00
นาที
25
ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) +/- 5 kHz ใช้กับโหมดการสื่อสารใด
ก.
โหมดเสียงพูดเท่านั้น
ข.
โหมดดิจิทัลเท่านั้น
ค.
โหมดภาพเท่านั้น
ง.
ใช้ได้ทุกโหมด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 26/100
90:00
นาที
26
วัตถุประสงค์ของ Q code คืออะไร
ก.
เพื่อใช้เฉพาะการติดต่อสื่อสารในสถานการณ์ฉุกเฉิน
ข.
เพื่อให้พนักงานวิทยุเข้าใจความหมาย ติดต่อสื่อสารกันด้วยความสะดวกและใช้เวลาสั้นที่สุด
ค.
เพื่อใช้เฉพาะการติดต่อสื่อสารแบบ Continuous Wave
ง.
เพื่อใช้เฉพาะการติดต่อสื่อสารแบบ Single Side Band
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 27/100
90:00
นาที
27
“QRN” หมายความว่า
ก.
จะให้ข้าพเจ้าลดกำลังส่งหรือ ? / โปรดเพิ่มกำลังส่งอีก
ข.
ท่านถูกรบกวนโดยประจุไฟฟ้าในบรรยากาศหรือ ? / ข้าพเจ้าถูกรบกวนโดยประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ ในระดับ (1 – 5)
ค.
ท่านกำลังถูกสัญญาณรบกวนหรือ ? / ข้าพเจ้ากำลังถูกสัญญาณรบกวน ในระดับ (1 - 5)
ง.
จะให้ข้าพเจ้าส่งเร็วขึ้นอีกหรือ ? / โปรดส่งให้เร็วขึ้น ..... คำ / นาที
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 28/100
90:00
นาที
28
การเพิ่มกำลังส่งใช้ Q Signal ใด
ก.
QRS
ข.
QRO
ค.
QSP
ง.
QRP
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 29/100
90:00
นาที
29
รหัส Q Signal ใดหมายถึงการทำงานในระบบ Full Break-in
ก.
QSB
ข.
QSF
ค.
QSK
ง.
QSV
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 30/100
90:00
นาที
30
การถามว่าความถี่ว่างหรือไม่ในการส่ง CW (Continuous Wave) คือคำตอบใด ?
ก.
QRZ DE (Call Sign)
ข.
QSL DE (Call Sign)
ค.
QRL DE (Call Sign)
ง.
QRQ DE (Call Sign)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 31/100
90:00
นาที
31
ความหมายของคำว่า “Handle” ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารประเภทเสียง คือ
ก.
เครื่องวิทยุแบบมือถือ
ข.
อุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งเครื่องวิทยุ
ค.
ชื่อคู่สถานีที่กำลังติดต่อ
ง.
ไมโครโฟนแบบมือถือ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 32/100
90:00
นาที
32
ความหมายของคำว่า “Clear” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น คือ
ก.
ให้ทุกสถานีระงับการติดต่อ ปล่อยให้ความถี่ว่าง
ข.
ใช้เพื่อแสดงว่าจบการติดต่อแล้ว เลิกใช้ความถี่ ยังเปิดสถานีอยู่
ค.
ปิดสถานี ปิดเครื่องรับ-ส่งวิทยุ
ง.
ให้ทุกสถานีรับฟังอย่างเดียว
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 33/100
90:00
นาที
33
ความหมายของคำว่า “Roger” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น คือ
ก.
รู้จัก
ข.
เข้าใจ
ค.
รับข้อความได้ครบถ้วนถูกต้องแล้ว
ง.
ตกลง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 34/100
90:00
นาที
34
ในการสื่อสารโหมด CW คำย่อใดหมายถึงการจบข้อความ
ก.
AR
ข.
AS
ค.
C
ง.
R
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 35/100
90:00
นาที
35
ในการสื่อสารโหมด CW ข้อใดคือความหมายของคำย่อ MSG
ก.
Minute
ข.
Many
ค.
Meters
ง.
Message
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 36/100
90:00
นาที
36
ในการสื่อสารโหมด CW คำย่อ SK มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
End Of Message
ข.
Clear
ค.
End Of Contact
ง.
Break
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 37/100
90:00
นาที
37
การแข่งขันย่านความถี่ HF รายการใดเน้นการติดต่อกับสถานีที่ตั้งอยู่บนเกาะเป็นพิเศษ
ก.
IOTA Contest
ข.
CQ World Wide DX Contest
ค.
ARRL DX Contest
ง.
IARU HF Championship
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 38/100
90:00
นาที
38
ข้อความ “QSL VIA QRZ” มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
ต้องการให้ท่านส่ง QSL Card ผ่านทางสมาคมวิทยุสมัครเล่นของประเทศนั้น ๆ
ข.
ต้องการให้ท่านส่ง QSL Card โดยสอดซองเปล่าจ่าหน้าซองถึงตัวท่านเองมาด้วย
ค.
ต้องการให้ท่านส่ง QSL Card โดยแนบวิมัยบัตร (IRC Coupon)
ง.
ต้องการให้ท่านส่ง QSL Card ตามข้อมูลในเว็ปไซต์ www.qrz.com
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 39/100
90:00
นาที
39
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ VOX
ก.
สัญญาณที่รับได้ มีเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น
ข.
ส่งสัญญาณโดยไม่ต้องกดปุ่ม PTT
ค.
เป็นการประหยัดระยะความถี่ (Frequency Spectrum)
ง.
ทำให้มีกำลังส่ง (Power Output) เพิ่มขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 40/100
90:00
นาที
40
ความเร็วที่ดีที่สุดสำหรับการตอบ CQ ในรหัสมอร์ส คืออะไร
ก.
เร็วที่สุดเท่าที่ท่านสามารถรับได้สะดวก
ข.
ความเร็วเท่าที่สัญญาณ CQ ส่งมา
ค.
ความเร็วต่ำจนกระทั่งสามารถติดต่อได้
ง.
5 wpm เพื่อให้ทุกสถานีรับได้
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 41/100
90:00
นาที
41
หากได้รับ QSL Card จากสถานีที่เคยติดต่อด้วย โดยแนบมาพร้อมทั้ง SASE และ IRC Coupon ท่านควรทำอย่างไร
ก.
ส่ง QSL Card ของท่านไปยังสถานีนั้นโดยตรงทันที
ข.
ส่ง QSL Card ของท่านผ่านทางสมาคมวิทยุ
ค.
ส่ง Electronic QSL Card ของท่านไปยังสถานีนั้นโดยตรงทันที
ง.
ส่ง QSL Card พร้อมทั้ง IRC Coupon ของท่านกลับไปยังสถานีนั้นโดยตรงทันที
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 42/100
90:00
นาที
42
เวลาที่บันทึกลง Log Book ในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ ควรใช้รูปแบบใด
ก.
GMT
ข.
TST
ค.
JST
ง.
RST
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 43/100
90:00
นาที
43
ข้อใดไม่ใช่คำลงท้ายของการเรียกขานทั่วไปในการติดต่อสื่อสารประเภทเสียง
ก.
Over
ข.
Go Ahead
ค.
Back to you
ง.
Break
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 44/100
90:00
นาที
44
หากสถานีของท่านมีเพียงสายอากาศ Half-wave Dipole ความถี่เดียวแต่ต้องการใช้งานในทุกความถี่ ที่ได้รับอนุญาตในย่านความถี่ HF สิ่งที่ควรพิจารณาเป็นอันดับแรกในการเลือกซื้อเครื่องวิทยุ คือ
ก.
Built-in Electronic Keyer
ข.
Built-in Digital Signal Processing Unit
ค.
Built-in Temperature Compensated High Stability Crystal Oscillator
ง.
Built-in Automatic Antenna Tuner
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 45/100
90:00
นาที
45
ข้อความต่อไปนี้สถานีใดเป็นผู้ส่ง ผู้ส่งชื่ออะไร และอยู่ที่ไหน HS0AC DE HS5AC GE TKS FER CALL UR RST 579 579 OP BOB BOB QTH BANGKOK BANGKOK HW CPY ? HS0AC DE HS5AC K
ก.
HS0AC เป็นผู้ส่ง, ชื่อ BOB, อยู่ที่ BANGKOK
ข.
HS5AC เป็นผู้ส่ง, ชื่อ BOB, อยู่ที่ BANGKOK
ค.
HS0AC เป็นผู้ส่ง, ชื่อ CPY, อยู่ที่ BANGKOK
ง.
HS5AC เป็นผู้ส่ง, ชื่อ FER, อยู่ที่ BANGKOK
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 46/100
90:00
นาที
46
ถ้าใช้ Volt Meter วัดแรงดันไฟฟ้า AC ได้ 18 โวลต์ ถ้าใช้ Oscilloscope วัดจะอ่านค่าแรงดันสูงสุดได้เท่าไร
ก.
25 โวลต์
ข.
12 โวลต์
ค.
20 โวลต์
ง.
12.5 โวลต์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 47/100
90:00
นาที
47
1 กำลังม้า (แรงม้า) เท่ากับเท่าไร
ก.
746 W
ข.
746 J/S
ค.
1000 W
ง.
ข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 48/100
90:00
นาที
48
จงหาย่านความถี่ และคาบเวลา ของความยาวคลื่น 25 เมตร
ก.
12 kHz / 83.33 μs
ข.
12 MHz / 83.33 ns
ค.
120 kHz / 833.33 μs
ง.
120 kHz / 833.33 ns
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 49/100
90:00
นาที
49
ค่าของ Spurious ใช้หน่วยวัดใด
ก.
dB Ohm
ข.
dB Watt
ค.
dB Amp
ง.
dB micro Amp
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 50/100
90:00
นาที
50
อุปกรณ์ในข้อใดสามารถนำมาใช้เพื่อทำอิมพีแดนซ์แมตชิ่งในย่านความถี่วิทยุได้
ก.
หม้อแปลงอิมพีแดนซ์
ข.
Pi-Network
ค.
สายนำสัญญาณที่ถูกตัดให้เป็นสัดส่วนกับความยาวคลื่น
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 51/100
90:00
นาที
51
ภาพต่อไปนี้แสดงคุณสมบัติของวงจรชนิดใด
ก.
High Pass Filter
ข.
Low Pass Filter
ค.
Band Pass Filter
ง.
Band Stop Filter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 52/100
90:00
นาที
52
ตัวต้านทานตัวหนึ่งมีรหัสสี เหลือง-ม่วง-ส้ม-เงิน ตัวต้านทานนี้มีค่าความต้านทานเท่าไร
ก.
12.5 Ω และมีค่าผิดพลาด 5 %
ข.
22 kΩ และค่าผิดพลาด 10 %
ค.
36 Ω และมีค่าผิดพลาด 5 %
ง.
47 kΩ และมีค่าผิดพลาด 10 %
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 53/100
90:00
นาที
53
Electronic Keyer ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทใด
ก.
A1A
ข.
F1B
ค.
J3E
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 54/100
90:00
นาที
54
ข้อใดกล่าวถึง Standing Wave Ratio (SWR) ได้ถูกต้อง
ก.
อัตราส่วนของค่าอินดักแตนซ์สูงสุดต่อค่าอินดักแตนซ์ต่ำสุดในสายส่งกำลัง
ข.
อัตราส่วนของค่ารีซิสแตนซ์สูงสุดต่อค่ารีซิสแตนซ์ต่ำสุดในสายส่งกำลัง
ค.
อัตราส่วนของค่าอิมพีแดนซ์สูงสุดต่อค่าอิมพีแดนซ์ต่ำสุดในสายส่งกำลัง
ง.
อัตราส่วนของค่าแรงดันสูงสุดต่อค่าแรงดันต่ำสุดในสายส่งกำลัง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 55/100
90:00
นาที
55
จากภาพความถี่ 2
nd
IF มีของวงจรค่าเท่าไร
ก.
10.7 kHz
ข.
455 kHz
ค.
10.7 MHz
ง.
455 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 56/100
90:00
นาที
56
ข้อใดเป็นความหมายของความกว้างของลำคลื่นหลัก
ก.
Bandwidth
ข.
Minor Lobe
ค.
Major Lobe
ง.
Beamwidth
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 57/100
90:00
นาที
57
จากภาพแสดงรูปแบบการแพร่กระจายคลื่นแบบใด
ก.
Omni-Directional Pattern
ข.
Bi-Directional Pattern
ค.
Directional Pattern
ง.
Cardioid Pattern
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 58/100
90:00
นาที
58
วิธีใดสามารถเพิ่ม SWR Bandwidth ของสายอากาศ Yagi ได้
ก.
เพิ่ม Traps ให้แก่ Driven Element
ข.
เลื่อนตำแหน่ง Reflector เข้าใกล้ Driven Element เล็กน้อย
ค.
เพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Element ให้มีขนาดโตขึ้น
ง.
เพิ่มจำนวนของ Director ให้มากขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 59/100
90:00
นาที
59
Sky Wave เกิดขึ้นจาก
ก.
ค่าคงตัวไดอิเล็กตริกของดินไม่คงที่ทำให้คลื่นเดินทางไปตามผิวโลก
ข.
การกระเจิงจากชั้น Troposphere
ค.
ค่าคงตัวไดอิเล็กตริกของชั้น Ionosphere ไม่คงที่ทำให้คลื่นเลี้ยวเบน
ง.
การสะท้อนจากผิวน้ำ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 60/100
90:00
นาที
60
ค่าพารามิเตอร์อะไรที่ทำให้คลื่นฟ้าเกิดการเลี้ยวโค้งกลับมาบนพื้นดิน
ก.
การลดทอนสัญญาณ
ข.
สภาพการเก็บประจุไฟฟ้า
ค.
สภาพการคายประจุทางไฟฟ้า
ง.
ดัชนีการหักเห
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 61/100
90:00
นาที
61
ระดับสัญญาณของคลื่นวิทยุส่งจากดาวเทียม GPS ผ่านชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ลงมายังพื้นผิวโลกที่รับได้บางช่วงเวลาจะมีการเปลี่ยนแปลงทางแอมพลิจูดอย่างกะทันหัน (Scintillation) ทั้งนี้เนื่องจาก
ก.
ระดับความสูงชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์เปลี่ยนแปลง
ข.
เกิดการแปรปรวนไม่คงที่โดยมีการรวมตัวกันอีกครั้งของอิเล็กตรอนอิสระและไอออนบวกในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์
ค.
สัญญาณจากดาวเทียมผ่านเมฆที่มีขนาดไม่เท่ากัน
ง.
ดาวเทียมเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 62/100
90:00
นาที
62
ข้อใดหมายถึง ทิศทางของสนามไฟฟ้าของคลื่นวิทยุเมื่อเทียบกับพื้นโลก
ก.
Directivity
ข.
Polarization
ค.
Major Lobe
ง.
Bandwidth
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 63/100
90:00
นาที
63
ความถี่วิกฤต (Critical Frequency) คือ
ก.
ความถี่สูงสุดของคลื่นที่จะสะท้อนกลับลงมาจากชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ในแนวดิ่ง
ข.
ความถี่สูงสุดของคลื่นที่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์
ค.
ความถี่สูงสุดของคลื่นที่จะสะท้อนกลับมาจากชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์
ง.
ความถี่สูงสุดของคลื่นที่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 64/100
90:00
นาที
64
บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ชั้น E อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณเท่าใด
ก.
60-80 กม.
ข.
90-110 กม.
ค.
120-400 กม.
ง.
สูงกว่า 400 กม.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 65/100
90:00
นาที
65
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น เกิดจุดบนดวงอาทิตย์ รังสีอัลตร้าไวโอเลตจากแสงแดด การระเบิดลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ล้วนแต่มีผลกระทบต่อบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์และทำให้การสื่อสารย่าน HF ดีขึ้นหรือเลวลงได้ มีปรากฏการณ์หนึ่งที่ทำให้การสื่อสารด้วยคลื่นฟ้ายุติลงเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า
ก.
Maximum Usable Frequency
ข.
Critical Frequency
ค.
SID (Sudden Ionospheric Disturbance)
ง.
Sun Spot
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 66/100
90:00
นาที
66
ในการติดตั้งเสาอากาศมีหลักปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยอย่างไร
ก.
ติดตั้งให้ห่างจากสายไฟฟ้าแรงสูง และไม่พาดสายไฟฟ้าแรงสูงถ้าเสาอากาศเกิดหักโค่นลงมา
ข.
ต้องแน่ใจว่าเสาอากาศและสายอากาศมีโครงสร้างแข็งแรงเพียงพอที่จะรับแรงลมได้โดยไม่หักโค่น
ค.
ไม่ควรปีนเสาอากาศโดยถืออุปกรณ์หรือสายอากาศในมือ แต่ควรห้อยไว้ที่เอวด้วยเข็มขัดหรือชักรอกขึ้นไป
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 67/100
90:00
นาที
67
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินที่ถูกต้อง
ก.
ติดตั้งในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ข.
ติดตั้งบนพื้นที่มีความชื้นสูงเพื่อให้เป็นสายดิน (Ground)
ค.
ควรวางน้ำมันเชื้อเพลิงไว้ใกล้จุดติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพื่อความรวดเร็วในการเติมเชื้อเพลิงเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 68/100
90:00
นาที
68
ในขณะใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าทำไมจึงต้องใส่รองเท้าที่เป็นฉนวนอย่างดีที่สุด
ก.
ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าลัดวงจรของเครื่องไฟฟ้านั้น ๆ
ข.
ป้องกันอันตรายจากแรงดันไฟฟ้าเกิน
ค.
ป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงสู่พื้นดิน
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 69/100
90:00
นาที
69
Lightning Arrester ควรติดตั้งไว้ที่ใด
ก.
ติดตั้งใกล้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ามากที่สุด
ข.
ติดตั้งนอกบ้านพร้อมต่อสายดิน (Ground) อย่างดีที่สุด
ค.
ติดตั้งไว้ภายในเครื่องใช้ไฟฟ้า
ง.
ติดตั้งที่ใดก็ใช้งานได้เหมือนกัน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 70/100
90:00
นาที
70
หน่วยงานใดต่อไปนี้ทำหน้าที่ค้นคว้าวิจัยกำหนดมาตรฐานของคลื่นวิทยุ (RF) ที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อของร่างกายมนุษย์
ก.
ANSI
ข.
ASDN
ค.
ISDN
ง.
FCC
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 71/100
90:00
นาที
71
อุปกรณ์ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีความจำเป็นต้องห่อหุ้มหรือ Shield อย่างดีที่สุด
ก.
เครื่องวัดกำลังส่งวิทยุ
ข.
เครื่องรับวิทยุ
ค.
เครื่องขยายกำลังส่งวิทยุ
ง.
เครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 72/100
90:00
นาที
72
ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test) เพื่อวัดค่าความเป็นเชิงเส้น (Linearity) ของ Amplitude ในเครื่องส่ง Single Side Band
ก.
คือการใช้โทนเสียงสองความถี่ที่เป็นฮาร์มอนิกกัน ป้อนเข้าไมโครโฟนของเครื่อง SSB แล้วดูผลจากออสซิโลสโคป
ข.
คือการใช้โทนเสียงสองความถี่ที่เป็นฮาร์มอนิกกัน ป้อนเข้าไมโครโฟนของเครื่อง SSB แล้วดูผลจาก Distortion Analyzer
ค.
คือการใช้โทนเสียงสองความถี่ที่ไม่เป็นฮาร์มอนิกต่อกัน ป้อนเข้าไมโครโฟนของเครื่อง SSB แล้วดูผลจากออสซิโลสโคป
ง.
คือการใช้โทนเสียงสองความถี่ที่ไม่เป็นฮาร์มอนิกต่อกัน ป้อนเข้าไมโครโฟนของเครื่อง SSB แล้วดูผลจาก Wattmeter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 73/100
90:00
นาที
73
จุดประสงค์ของการใช้สัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test) คือ
ก.
ทดสอบภาครับของเครื่องวิทยุ
ข.
การกำจัดความถี่ด้านที่ไม่ต้องการ
ค.
เพื่อทดสอบเครื่องวิทยุสามารถแยกโทนเสียง 2 เสียงออกจากกันได้หรือไม่
ง.
เพื่อให้เครื่องขยายสามารถขยายกำลังส่งได้ดีทั้งความถี่ต่ำและความถี่สูง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 74/100
90:00
นาที
74
โทนเสียงความถี่ใดที่นิยมนำมาใช้เป็นสัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test)
ก.
โทนเสียงต่ำ 700 Hz โทนเสียงสูง 900 Hz
ข.
โทนเสียงต่ำ 1,700 Hz โทนเสียงสูง 2,900 Hz
ค.
โทนเสียงต่ำ 700 Hz โทนเสียงสูง 1,900 Hz
ง.
โทนเสียงต่ำ 2,900 Hz โทนเสียงสูง 3,900 Hz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 75/100
90:00
นาที
75
ถ้าภาค Power Amplifier ของเครื่องส่งมี IMD (Intermodulation Distortion) มากเกินไปจะทำให้
ก.
เกิดอันตรายต่อภาค Power Amplifier
ข.
สัญญาณคลื่นวิทยุที่ออกมาจะมีแถบความถี่ (Bandwidth) กว้างเกินไป
ค.
สัญญาณคลื่นวิทยุที่ออกมา จะมีความแรงมากเกินไป
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 76/100
90:00
นาที
76
เครื่องมือที่ใช้วัดค่ากำลังส่งที่ออกจากเครื่องรับ-ส่งวิทยุ คือ
ก.
AF Power Meter
ข.
RF Power Meter
ค.
DIP Meter
ง.
Field Strength Meter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 77/100
90:00
นาที
77
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการหาประสิทธิภาพ RF Linear Amplifier
ก.
DC Input Power หารด้วย DC Output Power
ข.
RF Output Power หารด้วย DC Input Power
ค.
RF Input Power คูณด้วย RF Output Power
ง.
DC Input Power บวกด้วย RF Input Power
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 78/100
90:00
นาที
78
คันเคาะรหัสมอร์สที่มีจุดสัมผัสสองจุดคือซ้ายและขวานั้นเราเรียกว่า
ก.
Straight Key
ข.
Paddle Key
ค.
Double Key
ง.
Automatic Key
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 79/100
90:00
นาที
79
การเลือกใช้งาน Balun ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก.
ใช้ Balun 1:1 กับสายอากาศ Quarter Wave
ข.
ใช้ Balun 1:1 กับสายอากาศ Half Wave Dipole
ค.
ใช้ Balun 1:1 กับสายอากาศ Folded Dipole
ง.
ใช้ Balun 1:1 กับสายอากาศ Rhombic
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 80/100
90:00
นาที
80
ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุของการรบกวนทางคลื่นวิทยุ
ก.
Fundamental Overload
ข.
Harmonics
ค.
Spurious Emissions
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 81/100
90:00
นาที
81
คลื่นฮาร์มอนิก (Harmonic) หมายถึง
ก.
คลื่นความถี่ของวงจรไอเอฟ แอมพลิฟายเออร์ (IF Amplifier)
ข.
คลื่นความถี่ที่ต้องการออกอากาศ
ค.
คลื่นความถี่ที่มีค่าเป็นจำนวนเท่าของความถี่ใช้งาน
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 82/100
90:00
นาที
82
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง เกี่ยวกับการแก้ปัญหาเครื่องส่งวิทยุรบกวนเครื่องรับโทรทัศน์
ก.
ติดตั้ง RF Choke หรือ BALUN ที่สายอากาศ
ข.
ติดตั้งสายอากาศเครื่องส่งวิทยุให้สูงกว่าสายอากาศของเครื่องรับโทรทัศน์
ค.
ใช้วงจร High Pass Filter ที่เครื่องรับโทรทัศน์
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 83/100
90:00
นาที
83
ข้อใดเป็นการป้องกันหรือแก้ไขที่ตัวเครื่องส่งวิทยุอย่างถูกต้องเพื่อไม่ให้สัญญาณรบกวนที่เกิดจากเครื่องส่งวิทยุไปรบกวนเครื่องรับโทรทัศน์
ก.
ติดตั้งวงจรกรองความถี่ต่ำผ่าน (Low Pass Filter) ให้ใกล้กับเครื่องส่งวิทยุมากที่สุดแล้วต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ข.
ติดตั้งวงจรกรองความถี่สูงผ่าน (High Pass Filter) ให้ใกล้กับเครื่องส่งวิทยุมากที่สุดแล้วต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ค.
ติดตั้ง RF Choke หรือ BALUN ที่สายอากาศให้ใกล้กับเครื่องส่งวิทยุมากที่สุดแล้วต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 84/100
90:00
นาที
84
เพื่อลดการรบกวนของคลื่นวิทยุที่มีต่ออุปกรณ์ซึ่งใช้ความถี่เสียงจะต้องใช้อุปกรณ์ใด
ก.
Bypass Inductor
ข.
Bypass Capacitor
ค.
Forward-Biased Diode
ง.
Reverse-Biased Diode
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 85/100
90:00
นาที
85
ข้อใดกล่าวถึงประโยชน์ของ Line Filter ได้ถูกต้อง
ก.
Line Filter ต่อไว้เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนจากเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เข้ามารบกวนเครื่องรับ-ส่งวิทยุ
ข.
Line Filter ช่วยป้องกันสัญญาณจากเครื่องรับ-ส่งวิทยุของเราไม่ให้ออกไปรบกวน หรือทำความเสียหายต่ออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
ค.
Line Filter ช่วยให้เครื่องรับ-ส่งวิทยุมีกำลังส่งแรงขึ้น
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 86/100
90:00
นาที
86
ในการส่งรหัสมอร์ส ระยะห่างระหว่างสัญญาณเสียงสั้นยาวที่ประกอบเป็นตัวอักษรนั้นมีความยาวเท่าใด
ก.
เท่ากับสัญญาณเสียงสั้น
ข.
สามเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ค.
เจ็ดเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 87/100
90:00
นาที
87
ในการส่งรหัสมอร์ส ระยะห่างระหว่างตัวอักษรมีความยาวเท่าใด
ก.
สามเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ข.
ห้าเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ค.
เจ็ดเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 88/100
90:00
นาที
88
ข้อความ ∙∙∙∙∙ −∙ −∙ (ดิดิดิดิดิด ดาดิด ดาดิด) ในการแข่งขันหมายถึง
ก.
And
ข.
ตัวเลขแบบย่อที่ส่งในการแลกเปลี่ยน
ค.
หมดข้อความ
ง.
กรุณาส่งซ้ำอีกครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 89/100
90:00
นาที
89
ข้อความ ∙− −−∙ −∙ (ดิดา ดาดาดิด ดาดิด) หมายความว่า
ก.
กรุณาลดความเร็ว
ข.
กรุณาเพิ่มความเร็ว
ค.
ท่านอยู่ที่ใด
ง.
กรุณาส่งซ้ำอีกครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 90/100
90:00
นาที
90
ข้อใดหมายถึง “ขอบคุณ”
ก.
− −∙ −∙∙− (ดา ดาดิด ดาดิดิดา)
ข.
− ∙∙∙− (ดา ดิดิดิดา)
ค.
− −∙− ∙∙∙∙ (ดา ดาดิดา ดิดิดิดิด)
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 91/100
90:00
นาที
91
“หวังว่าคงได้พบกันอีกครั้ง” คือข้อใด
ก.
∙∙∙∙ ∙−−− ∙ −−∙ −−∙− ∙− −−∙ −−∙∙ (ดิดิดิดิด ดิดาดาดา ดิด ดาดาดิด ดาดาดิดา ดิดา ดาดาดิด ดาดาดิดิด)
ข.
∙∙∙∙ ∙−−∙ ∙ −∙−∙ ∙∙− ∙− −−∙ −∙ (ดิดิดิดิด ดิดาดาดิด ดิด ดาดิดาดิด ดิดิดา ดิดา ดาดาดิด ดาดิด)
ค.
∙∙∙− ∙−−∙ ∙∙ −−∙ ∙− −−∙ −∙ (ดิดิดิดา ดิดาดาดิด ดิดิด ดาดาดิด ดิดา ดาดาดิด ดาดิด)
ง.
∙∙∙− ∙∙∙∙ ∙∙− −−∙ −−∙ ∙∙∙− (ดิดิดิดา ดิดิดิดิด ดิดิดา ดาดาดิด ดาดาดิด ดิดิดิดา)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 92/100
90:00
นาที
92
ข้อใดใช้ในการร่ำลาของ QRP'er
ก.
−−∙∙∙ ∙∙−−− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดาดาดา)
ข.
−−∙∙∙ ∙∙∙−− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดาดา)
ค.
−−∙∙∙ ∙∙∙∙− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดิดา)
ง.
−−∙∙∙ ∙∙∙∙∙ (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 93/100
90:00
นาที
93
QTC คือข้อใด
ก.
−−∙− ∙ −−∙− (ดาดาดิดา ดิด ดาดาดิดา)
ข.
−−∙− − −∙−− (ดาดาดิดา ดา ดาดิดาดา)
ค.
−−∙− − ∙∙∙∙ (ดาดาดิดา ดา ดิดิดิดิด)
ง.
−−∙− − −∙−∙ (ดาดาดิดา ดา ดาดิดาดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 94/100
90:00
นาที
94
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก.
กรุณาส่งช้าลง −−∙− ∙−∙ −−∙− (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดาดิดา)
ข.
สัญญาณจางหาย −−∙− ∙∙∙ −∙∙∙ (ดาดาดิดา ดิดิดิด ดาดิดิดิด)
ค.
เวลาเท่าใด −−∙− − ∙−∙ (ดาดาดิดา ดา ดิดาดิด)
ง.
ท่านเดินทางไปที่ใด −−∙− ∙−∙ −∙∙ (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 95/100
90:00
นาที
95
ข้อความในข้อใดต่อไปนี้นิยมใช้ในการรายงานสัญญาณด้วยรหัสมอร์สทุกย่านความถี่
ก.
∙−∙ ∙∙∙ − (ดิดาดิด ดิดิดิด ดา)
ข.
−−∙− ∙−∙ −∙− (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดิดา)
ค.
−−∙− ∙∙∙ ∙− (ดาดาดิดา ดิดิดิด ดิดา)
ง.
−∙ ∙∙ ∙−∙∙ (ดาดิด ดิดิด ดิดาดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 96/100
90:00
นาที
96
เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ −∙−∙ −−∙− −∙ ∙− (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา ดาดิด ดิดา) เราควรทำอย่างไร
ก.
เคาะส่งสัญญาณเรียกขานของเราทันที เพื่อติดต่อกับสถานีต้นทาง
ข.
เคาะส่งสัญญาณเรียกขานของเราทันที เพื่อติดต่อกับสถานีต้นทาง
ค.
รีบติดต่อกับสถานีประเทศหายาก
ง.
ไม่ต้องส่งข้อความใด ๆ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 97/100
90:00
นาที
97
−∙−∙ −−∙− ∙− ∙∙∙ (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา ดิดา ดิดิดิด) หมายความว่า
ก.
กรุณารอสักครู่
ข.
เรียกสถานีทั่วไป
ค.
เจาะจงเรียกเฉพาะสถานีในทวีปยุโรป
ง.
เจาะจงเรียกเฉพาะสถานีในทวีปเอเชีย
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 98/100
90:00
นาที
98
สัญญาณในข้อใดหมายถึง “ขึ้นบรรทัดใหม่”
ก.
∙−∙−∙− (ดิดาดิดาดิดา)
ข.
−∙∙∙− (ดาดิดิดิดา)
ค.
−∙∙−∙ (ดาดิดิดาดิด)
ง.
∙−∙∙∙ (ดิดาดิดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 99/100
90:00
นาที
99
ระหว่างการสนทนา เมื่อต้องการให้คู่สถานีตอบ ต้องแจ้งด้วยสัญญาณในข้อใด
ก.
−∙∙∙− (ดาดิดิดิดา)
ข.
∙−∙−∙− (ดิดาดิดาดิดา)
ค.
−∙−−∙ (ดาดิดาดาดิด)
ง.
−∙∙−∙ (ดาดิดิดาดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 100/100
90:00
นาที
100
เราจะใช้สัญญาณ −∙−∙ −−∙− (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา) เมื่อใด
ก.
เพื่อยกเลิกข้อความก่อนหน้า
ข.
เพื่อขอติดต่อกับสถานีใดก็ได้
ค.
เพื่อแจ้งว่าหมดข้อความ
ง.
เพื่อขอทราบสัญญาณเรียกขานของท่านอีกครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คุณยังตอบคำถามไม่ครบ :
100
ข้อ จาก 100 ข้อ
(คลิกที่หมายเลขข้อที่ต้องการ เพื่อตอบคำถาม)
เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
เสร็จสิ้น