NBTC
ONE STOP SERVICE
สำนักงาน กสทช.
Home
E-Learning
E-Practice
เปลี่ยนภาษา:
Login
เข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ สำหรับคนไทย
Login for Foreigner
สำหรับเจ้าหน้าที่ กสทช.
Light
Dark
เข้าสู่ระบบ สำหรับเจ้าหน้าที่
Username
* กรุณาระบุ Username
Password
* กรุณาระบุ Password
Login
OTP
เลขที่บัตรประชาชน
* กรุณาระบุเลขที่บัตร
*โปรดกรอกเลขที่บัตรเป็นตัวเลข 13 หลัก
*เลขที่บัตรไม่ถูกต้อง
ขอรหัสผ่าน
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น ขั้นสูง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น
ขั้นต้น
ขั้นกลาง
ขั้นสูง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภททั่วไปประจำเรือ (GOC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ Principles of Communications
หมวดที่ 2. F.C.C. Rules & Regulations และ DSC & Alpha-Numeric ID
หมวดที่ 3. Distress, Urgency & Safety Communications และ Section-F: Survival Craft Equip & S.A.R
หมวดที่ 4. VHF-DSC Equipment & Communications และ Maritime Safety Information (M.S.I.)
หมวดที่ 5. Inmarsat Equip. & Communications และ MF-HF Equip. and Communications
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภทจำกัดเขตเดินเรือทะเล (ROC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ F.C.C. Rules & Regulations
หมวดที่ 2. DSC & Alpha-Numeric ID Systems และ Distress, Urgency & Safety Communication
หมวดที่ 3. Survival Craft Equip & S.A.R, Maritime Safety Information (M.S.I.) และ VHF-DSC Equipment & Communication
เฉลย
ทดสอบอีกครั้ง
คำถามที่ 1/100
120:00
นาที
1
ถ้าช่วงความถี่ใดในกิจการวิทยุสมัครเล่นถูกกำหนดให้เป็นกิจการหลักร่วมกัน ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงการ ใช้งานที่เหมาะสมของพนักงานวิทยุสมัครเล่น
ก.
พนักงานวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้ได้ โดยไม่ต้องสนใจสถานีวิทยุคมนาคมอื่นที่จัดอยู่ในกิจการหลักร่วมกัน
ข.
พนักงานวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้ได้ แต่ต้องไม่รบกวนกับสถานีวิทยุคมนาคมอื่นที่จัดอยู่ในกิจการหลักร่วมกัน
ค.
พนักงานวิทยุสมัครเล่นไม่สามารถใช้ได้ เพราะจะไปรบกวนกับสถานีวิทยุคมนาคมในกิจการอื่น ที่จัดอยู่ในกิจการหลักร่วมกัน
ง.
หากได้รับการรบกวนจากสถานีวิทยุคมนาคมในกิจการอื่นที่จัดอยู่ในกิจการหลักร่วมกัน พนักงานวิทยุสมัครเล่นควรเพิ่มกำลังส่งให้สูงขึ้น
คำถามต่อไป
คำถามที่ 2/100
120:00
นาที
2
ความถี่ใดต่อไปนี้ในตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นกิจการรอง
ก.
1.825 – 2.000 MHz
ข.
430 – 440 MHz
ค.
1 240 – 1 300 MHz
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 3/100
120:00
นาที
3
ความถี่ใดต่อไปนี้ในตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นกิจการหลัก
ก.
50 – 54 MHz
ข.
2 300 – 2 450 MHz
ค.
3 300 – 3 500 MHz
ง.
24 – 24.05 GHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 4/100
120:00
นาที
4
เมื่อได้รับใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูงแล้ว จำเป็นต้องต่อใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางและขั้นต้นหรือไม่
ก.
ไม่จำเป็น เพราะสิทธิการใช้งานความถี่และกำลังส่งครอบคลุมขั้นกลางและขั้นต้นแล้ว
ข.
จำเป็น เพราะเป็นการอนุญาตที่แยกจากกัน
ค.
จำเป็น เพราะพนักงานวิทยุสมัครเล่นต้องมีใบอนุญาตให้ครบทุกระดับขั้น
ง.
ผิดทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 5/100
120:00
นาที
5
พนักงานวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการพิจารณาโทษโดยการให้พ้นจากการเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นชั่วคราวเป็นเวลาไม่เกินหกเดือน ในกรณีใด
ก.
มี หรือ ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาต
ข.
ตั้งสถานีวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาต
ค.
ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 6/100
120:00
นาที
6
ในกรณีที่พนักงานวิทยุสมัครเล่นเคยถูกลงโทษกรณีนำเข้าซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาตมาแล้ว ต่อมาได้กระทำผิดกรณีทำซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาตอีก จะถูกพิจารณาโทษ
ก.
ให้พ้นจากการเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นการชั่วคราว เป็นเวลาไม่เกิน 3 เดือน
ข.
ให้พ้นจากการเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นการชั่วคราว เป็นเวลาไม่เกิน 6 เดือน
ค.
ให้พ้นจากการเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นการชั่วคราว เป็นเวลาไม่เกิน 1 ปี
ง.
ให้พ้นจากการเป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นการถาวร และถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 แล้วแต่กรณี
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 7/100
120:00
นาที
7
ระวางโทษฐานฝ่าฝืนคำสั่งของเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาตหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่สั่งให้ระงับการกระทำหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ใช้ในการกระทำหรือให้ย้ายสิ่งที่กระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคมโดยไม่เจตนา คือ
ก.
ปรับไม่เกิน 5,000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข.
ปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค.
ปรับไม่เกิน 40,000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง.
ปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 8/100
120:00
นาที
8
ถ้าในตารางกำหนดคลื่นความถี่ตามข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศกำหนดให้กิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นกิจการหลัก ประเทศไทยโดยหน่วยงานกำกับดูแลสามารถที่จะไม่กำหนดให้มีกิจการวิทยุสมัครเล่นในความถี่นั้นหรือกำหนดให้เป็นกิจการรองได้หรือไม่
ก.
ไม่ได้ เพราะประเทศไทยต้องปฏิบัติตามตารางกำหนดคลื่นความถี่ของข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ
ข.
ได้ เพราะการบริหารจัดการและการกำกับดูแลเป็นเอกสิทธิของแต่ละประเทศ สามารถกำหนดได้ ตามความเหมาะสม โดยเพิ่มข้อสงวน (Footnote) ในข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ
ค.
ไม่ได้ เพราะกิจการวิทยุสมัครเล่นเป็นสากล ต้องเหมือนกันในทุกประเทศ
ง.
ผิดทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 9/100
120:00
นาที
9
ประเทศใดต่อไปนี้ที่มีข้อตกลงต่างตอบแทน (Reciprocal Agreement) เกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเล่นกับประเทศไทย
ก.
สหรัฐอเมริกา เยอรมัน จีน
ข.
สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลี
ค.
เวียดนาม ออสเตรีย สวีเดน
ง.
สวิสเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 10/100
120:00
นาที
10
กรณีที่เครื่องวิทยุรับส่ง (Transceiver) มีกำลังส่งต่ำกว่า 1000 W พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง สามารถใช้เครื่องขยายกำลังส่งภายนอก (External RF Power Amplifier) ได้หรือไม่
ก.
ไม่ได้ ต้องใช้กำลังส่งตามคุณสมบัติเครื่องเท่านั้น
ข.
ได้ แต่ต้องใช้ออกอากาศเฉพาะใน Club Station เท่านั้น
ค.
ไม่ได้ทุกกรณี
ง.
ใช้ได้เฉพาะเครื่องขยายกำลังส่งภายนอกที่ผ่านการตรวจสอบลักษณะทางวิชาการตามที่ กสทช. กำหนด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 11/100
120:00
นาที
11
ถ้าดาวเทียมทำงานในโหมด U/V ภาครับสัญญาณของดาวเทียมจะใช้ช่วงความถี่ใด
ก.
435 – 438 MHz
ข.
144 – 146 MHz
ค.
50.0 – 50.2 MHz
ง.
29.5 – 29.7 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 12/100
120:00
นาที
12
รูปแบบของการส่งสัญญาณประเภทใด สามารถส่งผ่านทาง Linear Transponder ของดาวเทียมวิทยุสมัครเล่นได้
ก.
FM และ CW
ข.
SSB และ SSTV
ค.
PSK และ Packet
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 13/100
120:00
นาที
13
เหตุใดจึงต้องใช้กำลังส่งต่ำในการส่งสัญญาณไปยังดาวเทียมที่ใช้ Linear Transponder
ก.
ป้องกันไม่ให้รบกวนระบบโทรมาตร (Telemetry) ของดาวเทียม
ข.
ป้องกันไม่ให้ลดทอนสัญญาณ Downlink ของผู้ใช้งานคนอื่น ๆ
ค.
ป้องกันไม่ให้ดาวเทียมส่งสัญญาณอื่น ๆ นอกความถี่ที่ใช้งาน
ง.
ป้องกันไม่ให้รบกวนการติดต่อภาคพื้นดิน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 14/100
120:00
นาที
14
ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของคำว่า L Band และ S Band ในการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น
ก.
ความถี่ย่าน 23 เซนติเมตร และ ความถี่ย่าน 13 เซนติเมตร
ข.
ความถี่ย่าน 2 เมตร และ ความถี่ย่าน 70 เซนติเมตร
ค.
FM และระบบดิจิทัลแบบบันทึกแล้วส่งต่อ (Digital Store And Forward)
ง.
บอกด้านของ Sideband ที่ใช้งาน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 15/100
120:00
นาที
15
สายอากาศที่สามารถลดผลกระทบของ Spin Modulator และ Faraday Rotation คือสายอากาศชนิดใด
ก.
สายอากาศชนิด Linearly Polarization
ข.
สายอากาศชนิด Circularly Polarization
ค.
สายอากาศชนิด Isotropic
ง.
สายอากาศชนิด Log-Periodic Dipole Array
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 16/100
120:00
นาที
16
การระบุตำแหน่งของดาวเทียมสามารถทำโดยวิธีใด
ก.
โดยการใช้ข้อมูล Doppler ของดาวเทียม
ข.
การลบตำแหน่งของดาวเทียมบนวงโคจร (Mean Anomaly) กับมุมระหว่างระนาบวงโคจรของดาวเทียมกับระนาบของเส้นศูนย์สูตร (Orbital Inclination)
ค.
การบวกตำแหน่งของดาวเทียมบนวงโคจร (Mean Anomaly) กับมุมระหว่างระนาบวงโคจรของดาวเทียมกับระนาบของเส้นศูนย์สูตร (Orbital Inclination)
ง.
การคำนวณโดยใช้ Keplerian Elements ของดาวเทียม
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 17/100
120:00
นาที
17
Blanking ของสัญญาณภาพ หมายถึง
ก.
การ Synchronization แนวนอนและแนวตั้งของ Sync Pulses
ข.
หยุดลำอิเล็กตรอนไม่ให้สแกนกลับจากขวาไปซ้ายหรือจากล่างขึ้นบน
ค.
ปิดการ Scan ลำแสง หยุดลำอิเล็กตรอนเมื่อการส่งสัญญาณสิ้นสุดลง
ง.
เป็นการส่งภาพทดสอบแบบขาวดำ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 18/100
120:00
นาที
18
ข้อใดต่อไปนี้คือองค์ประกอบของสัญญาณภาพ ส่วนที่นำพาข้อมูลด้านสี
ก.
Luminance
ข.
Chroma
ค.
Hue
ง.
Spectral Intensity
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 19/100
120:00
นาที
19
ข้อใดต่อไปนี้คือหน้าที่ของรหัส Vertical Interval Signaling (VIS) ที่เป็นส่วนหนึ่งของ SSTV
ก.
ควบคุมการกำเนิดสัญญาณสีบนภาพที่ส่งผ่านทาง SSTV
ข.
เพื่อระบุ Mode ของ SSTV ที่กำลังใช้งาน
ค.
ทำให้เกิด Vertical Synchronization
ง.
เพื่อระบุสัญญาณเรียกขานของสถานีที่กำลังส่งสัญญาณ SSTV
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 20/100
120:00
นาที
20
การส่งภาพสีผ่านระบบ SSTV ของวิทยุสมัครเล่นโดยปกติ ในหนึ่งภาพจะมีกี่เส้น
ก.
30 ถึง 60 เส้น
ข.
60 ถึง 100 เส้น
ค.
128 ถึง 256 เส้น
ง.
180 ถึง 360 เส้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 21/100
120:00
นาที
21
ในการส่งสัญญาณ SSTV ของวิทยุสมัครเล่นจะใช้อะไรเป็นตัวกำหนดความสว่างของภาพ
ก.
Tone Frequency
ข.
Tone Amplitude
ค.
Sync Amplitude
ง.
Sync Frequency
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 22/100
120:00
นาที
22
Bandwidth โดยประมาณของสัญญาณ Slow Scan TV คือ
ก.
600 Hz
ข.
3 kHz
ค.
2 MHz
ง.
6 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 23/100
120:00
นาที
23
Cabrillo Format คือ
ก.
มาตรฐานของการจัดการข้อมูลของ Electronic Log ในรายการแข่งขัน
ข.
การแลกเปลี่ยนข้อมูลในขณะแข่งขัน
ค.
กฎระเบียบทั่วไปของรายการแข่งขัน
ง.
ข้อกำหนดของผู้สนับสนุนการแข่งขัน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 24/100
120:00
นาที
24
เหตุใดสถานี DX จึงอาจแจ้งว่าตนเองกำลังรับฟังที่ความถี่อื่น
ก.
เนื่องจากสถานี DX นั้นอาจส่งในความถี่ซึ่งบางประเทศไม่อนุญาตให้ใช้งาน
ข.
เพื่อแยกสถานีซึ่งต้องการเรียกออกจากสถานีอื่น ๆ
ค.
เพื่อลดการรบกวนซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของสถานี DX
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 25/100
120:00
นาที
25
โดยปกติเราจะแจ้งสัญญาณเรียกขานอย่างไร เมื่อต้องการติดต่อกับสถานี DX ที่กำลัง Pileup หรือสถานีที่กำลังแข่งขัน
ก.
แจ้งสัญญาณเรียกขานเต็มครั้งเดียวหรือสองครั้ง
ข.
แจ้งสัญญาณเรียกขานสองตัวสุดท้ายจนกว่าจะสามารถติดต่อได้
ค.
แจ้งสัญญาณเรียกขานเต็มพร้อมทั้งแจ้งตำแหน่งที่ตั้งแบบ Grid Square
ง.
แจ้งสัญญาณเรียกขานของสถานี DX สามครั้ง และแจ้งสัญญาณเรียกขานของสถานีตนเองสามครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 26/100
120:00
นาที
26
วิธีการใดอาจช่วยให้สามารถรับสัญญาณอ่อนในย่าน HF ได้ชัดเจนมากขึ้นในช่วงที่ดวงอาทิตย์ลับ ขอบฟ้าไปไม่นาน
ก.
เปลี่ยนไปยังช่วงความถี่ที่สูงขึ้น
ข.
เปลี่ยนไปยังช่วงความถี่ที่ต่ำลง
ค.
รอประมาณ 90 นาที เพื่อให้สภาวะที่ทำให้สัญญาณอ่อนนั้นหายไป หรือจนกว่าสัญญาณจะดีขึ้น
ง.
รอ 24 ชั่วโมง แล้วจึงติดต่อใหม่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 27/100
120:00
นาที
27
ความถี่ใช้งาน APRS ในย่าน 2 เมตร คือความถี่ใด
ก.
144.39 MHz
ข.
144.20 MHz
ค.
145.02 MHz
ง.
146.52 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 28/100
120:00
นาที
28
ข้อใดต่อไปนี้คือชนิดของ Frame ที่ APRS ใช้ส่งข้อมูล
ก.
Unnumbered information
ข.
Disconnect
ค.
Acknowledgement
ง.
Connect
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 29/100
120:00
นาที
29
การสื่อสารดิจิทัลในรูปแบบใดสามารถส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็วที่สุด ในสถานการณ์ที่สัญญาณสื่อสารชัดเจน
ก.
AMTOR
ข.
170-Hz Shift, 45 Baud RTTY
ค.
PSK31
ง.
300-Baud Packet
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 30/100
120:00
นาที
30
Forward Error Correction ทำงานอย่างไร
ก.
สถานีภาครับทำการทวนข้อมูลทีละชุด ชุดละ 3 ตัวอักษร
ข.
โดยการส่งวิธีการคำนวณพิเศษไปให้สถานีภาครับ พร้อมกับข้อมูลตัวอักษร
ค.
โดยการส่งข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด
ง.
โดยการเปลี่ยนความถี่ของการส่งสัญญาณตามกระบวนการที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 31/100
120:00
นาที
31
ข้อใดจะเกิดขึ้นเมื่อวงรีอันหนึ่งใน FSK ข้ามหน้าจอและหายไป
ก.
เกิดการเลือนหายของความถี่ที่เลือก (Selective Fading)
ข.
ตัวกรองสัญญาณมีปัญหา
ค.
ภาครับทำงานผิดพลาดไป 5 kHz จากความถี่ที่ต้องการรับ
ง.
การกำหนดช่วงของสัญญาณทำงานผิดพลาด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 32/100
120:00
นาที
32
Bandwidth ที่ใช้ในการส่งสัญญาณแบบ MFSK16 คือ
ก.
31 Hz
ข.
316 Hz
ค.
550 Hz
ง.
2.16 kHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 33/100
120:00
นาที
33
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการสื่อสารแบบดิจิทัล (Digital Mode) ในย่าน HF ซึ่งใช้วิธีเข้ารหัสแบบความยาว ไม่คงที่ (Variable Length Coding) เพื่อการใช้แถบความถี่ (Bandwidth) อย่างมีประสิทธิภาพ
ก.
RTTY
ข.
PACTOR
ค.
MT63
ง.
PSK31
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 34/100
120:00
นาที
34
การสื่อสารแบบดิจิทัล (Digital) รูปแบบใดใช้ Bandwidth แคบที่สุด
ก.
MFSK16
ข.
170-Hz shift, 45 Baud RTTY
ค.
PSK31
ง.
300-Baud Packet
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 35/100
120:00
นาที
35
การสื่อสารแบบดิจิทัล (Digital) รูปแบบใดไม่สนับสนุนการทำงานแบบ Keyboard To Keyboard
ก.
WinLink
ข.
RTTY
ค.
PSK31
ง.
MFSK
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 36/100
120:00
นาที
36
ค่าในข้อใดต่อไปนี้ที่สามารถทำให้ขนาดแรงดันตกคร่อมตัว Reactance ที่ต่ออนุกรมอยู่มีค่ามากกว่าแรงดันที่จ่ายให้ตัวมันเอง
ก.
Resonance
ข.
Capacitance
ค.
Inductance
ง.
Resistance
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 37/100
120:00
นาที
37
ข้อใดต่อไปนี้คือขนาดกระแสที่ขาเข้าของวงจร RLC แบบขนาน ในภาวะ Resonance
ก.
มีค่าต่ำสุด
ข.
มีค่าสูงสุด
ค.
R/L
ง.
L/R
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 38/100
120:00
นาที
38
ข้อใดต่อไปนี้คือความถี่ Resonance ของวงจร RLC แบบขนานซึ่งมีค่า R= 47 Ω, L= 25 μH และ C= 10 pF
ก.
10.1 MHz
ข.
63.2 MHz
ค.
10.1 kHz
ง.
63.2 kHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 39/100
120:00
นาที
39
จะต้องใช้เวลานานเท่าใดในการ Discharge ให้แรงดันเบื้องต้นลดลงจาก 20 VDC เป็น 7.36 VDC ผ่านตัวเก็บประจุขนาด 0.01 μF ที่มีตัวต้านทานขนาด 2 MΩ ต่อคร่อมอยู่
ก.
0.02 วินาที
ข.
0.04 วินาที
ค.
20 วินาที
ง.
40 วินาที
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 40/100
120:00
นาที
40
ข้อใดต่อไปนี้คือมุมระหว่างเฟสของแรงดันตกคร่อมและกระแสผ่านวงจร RLC อนุกรม ถ้า XC= 100 Ω, R= 100 Ω และ XL= 75 Ω
ก.
14 องศา และ แรงดันตามหลังกระแส
ข.
14 องศา และ แรงดันนำหน้ากระแส
ค.
76 องศา และ แรงดันนำหน้ากระแส
ง.
76 องศา และ แรงดันตามหลังกระแส
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 41/100
120:00
นาที
41
Polar Coordinate ข้อใดต่อไปนี้คือ Impedance ของวงจรที่ประกอบด้วย XL= 100 Ω ต่ออนุกรมอยู่กับ R= 100 Ω
ก.
121 Ω ที่มุม 35 องศา
ข.
141 Ω ที่มุม 45 องศา
ค.
161 Ω ที่มุม 55 องศา
ง.
181 Ω ที่มุม 65 องศา
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 42/100
120:00
นาที
42
Polar Coordinate ข้อใดต่อไปนี้คือ Impedance ของวงจรที่ประกอบด้วย XC= 300 Ω ต่ออนุกรมอยู่กับ XL= 600 Ω และ R= 400 Ω
ก.
500 Ω ที่มุม 37 องศา
ข.
900 Ω ที่มุม 53 องศา
ค.
400 Ω ที่มุม 0 องศา
ง.
1300 Ω ที่มุม 180 องศา
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 43/100
120:00
นาที
43
เมื่อเราใช้ Rectangular Coordinate ในการวาดกราฟ Impedance ของวงจร แกนตั้งจะแสดงค่าของอะไร
ก.
องค์ประกอบส่วน Resistance
ข.
องค์ประกอบส่วน Reactive
ค.
ผลรวมของค่าองค์ประกอบส่วน Reactive และองค์ประกอบส่วน Resistance
ง.
ผลต่างระหว่างค่าองค์ประกอบส่วน Resistance และองค์ประกอบส่วน Reactive
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 44/100
120:00
นาที
44
Polar Coordinate ข้อใดต่อไปนี้คือ Impedance ของวงจรที่มีค่า Impedance 100 - j100 Ω
ก.
141 Ω ที่มุม -45 องศา
ข.
100 Ω ที่มุม 45 องศา
ค.
100 Ω ที่มุม -45 องศา
ง.
141 Ω ที่มุม 45 องศา
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 45/100
120:00
นาที
45
ข้อใดต่อไปนี้ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก
ก.
ความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดในที่ว่าง
ข.
กระแสไฟฟ้า
ค.
ตัวเก็บประจุที่ Discharge แล้ว
ง.
แบตเตอรี่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 46/100
120:00
นาที
46
สิ่งใดจะเกิดขึ้นกับกำลังไฟฟ้าแบบ Reactive ในวงจรกระแสสลับที่มีทั้งตัวเหนี่ยวนำในอุดมคติและ ตัวเก็บประจุในอุดมคติ
ก.
จะสูญเสียไปในรูปความร้อนภายในวงจร
ข.
จะเกิดการถ่ายเทกลับไปมาระหว่างสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก แต่ไม่เกิดการสูญเสีย
ค.
จะสูญเสียไปในรูปพลังงานจลน์ภายในวงจร
ง.
จะเกิดการสูญเสียในแปลงรูประหว่างสนามเหนี่ยวนำและสนามเก็บประจุ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 47/100
120:00
นาที
47
เราจะสามารถหากำลังจริงทางไฟฟ้าได้อย่างไรในวงจรกระแสสลับซึ่งกระแสและแรงดันมีเฟสที่ ไม่ตรงกัน
ก.
ผลคูณระหว่างกำลังที่ปรากฏกับตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ข.
ผลหารระหว่างกำลังไฟฟ้าแบบ Reactive ด้วยตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ค.
ผลหารระหว่างกำลังปรากฏด้วยตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ง.
ผลคูณระหว่างกำลังไฟฟ้าแบบ Reactive กับตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 48/100
120:00
นาที
48
Field-Effect Transistor ประกอบด้วยขาอะไรบ้าง
ก.
Gate 1, Gate 2, Drain
ข.
Emitter, Base, Collector
ค.
Emitter, Base 1, Base 2
ง.
Gate, Drain, Source
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 49/100
120:00
นาที
49
ไดโอดในข้อใดที่ทำได้ทั้งการขยาย (Amplification) และการกำเนิดความถี่ (Oscillation) ในตัวเดียวกัน
ก.
Point Contact Diode
ข.
Zener Diode
ค.
Tunnel Diode
ง.
Junction Diode
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 50/100
120:00
นาที
50
ข้อใดต่อไปนี้คือแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ในวงจรไอซี TTL
ก.
12 โวลต์
ข.
1.5 โวลต์
ค.
5 โวลต์
ง.
13.6 โวลต์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 51/100
120:00
นาที
51
ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อได้เปรียบหลักของ Tri-State Logic
ก.
การใช้พลังงานต่ำ
ข.
ความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์เอาท์พุทจำนวนมาก
ค.
การทำงานด้วยความเร็วสูง
ง.
การคำนวณทางคณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพมากขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 52/100
120:00
นาที
52
ลอจิกชนิดใดที่มีสถานะเป็น "0" แทนแรงดันไฟฟ้าระดับสูง
ก.
Reverse Logic
ข.
Assertive Logic
ค.
Negative Logic
ง.
Positive Logic
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 53/100
120:00
นาที
53
D Flip-Flop คือข้อใด
ก.
สถานะของ เอาท์พุตจะเปลี่ยนไปเมื่อมีสัญญาณ Clock เข้า มาทริกจาก 0 เป็น 1
ข.
วงจรขยายสัญญาณ Class D ที่ใช้ วงจร Flip-Flop
ค.
อุปกรณ์เก็บข้อมูล
ง.
เป็น วงจร Flip-Flop ที่เอาท์พุตสามารถเป็น 1 หรือ 0 พร้อมกันได้
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 54/100
120:00
นาที
54
อัตราขยายของสายอากาศ หมายถึงข้อใด
ก.
เป็นการเปรียบเทียบความแรงในการแพร่กระจายคลื่นในทิศทางที่มีการแพร่กระจายคลื่นสูงสุดโดยเทียบกับสายอากาศอ้างอิง
ข.
อัตราส่วนของกำลังที่ส่งออกไปเทียบกับกำลังที่สะท้อนกลับมา
ค.
อัตราส่วนโดยรวมของกำลังการแพร่กระจายสัญญาณจากสายอากาศเทียบกับกำลังส่งจากเครื่องส่ง
ง.
อัตราขยายของเครื่องส่งวิทยุลบด้วยการสูญเสียในสายนำสัญญาณและสาย Phasing ต่าง ๆ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 55/100
120:00
นาที
55
รูปแบบการแพร่กระจายคลื่นของสายอากาศในรูป A9-1 ข้อใดต่อไปนี้คือ beam width 3 dB
ก.
75 degree
ข.
50 degree
ค.
30 degree
ง.
25 degree
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 56/100
120:00
นาที
56
รูปแบบการแพร่กระจายคลื่นของสายอากาศในรูป A9-1 ข้อใดต่อไปนี้คือ Front-To-Back ratio
ก.
36 dB
ข.
24 dB
ค.
18 dB
ง.
14 dB
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 57/100
120:00
นาที
57
ข้อใดต่อไปนี้คือเทคนิคที่นิยมใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับสร้างแบบจำลองสายอากาศ
ก.
การวิเคราะห์เชิงกราฟ (Graphical Analysis)
ข.
วิธีโมเมนต์ (Method of Moments)
ค.
การวิเคราะห์อิมพีแดนซ์ร่วม (Mutual Impedance Analysis)
ง.
อนุพันธ์แคลคูลัสตามคุณสมบัติทางกายภาพ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 58/100
120:00
นาที
58
หลักของการวิเคราะห์วิธีโมเมนต์ (Method of Moments) คือ
ก.
ใช้ลวดเป็นแบบจำลองแบ่งเป็นส่วน ๆ มาต่ออนุกรมกัน โดยแต่ละส่วนมีกระแสไฟฟ้าจำนวนหนึ่ง
ข.
ใช้ลวดเป็นแบบจำลองสำหรับสร้างกระแสไฟฟ้ารูป Sine Wave หนึ่งคลื่น
ค.
ใช้ลวดเป็นแบบจำลองแบ่งเป็นจุดมาอนุกรมกัน แต่ละจุดซึ่งมีตำแหน่งที่แตกต่างกันไปตามสถานที่
ง.
ใช้ลวดเป็นแบบจำลองแบ่งเป็นส่วน ๆ มาต่ออนุกรมกัน โดยแต่ละส่วนมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมจำนวนหนึ่ง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 59/100
120:00
นาที
59
NEC ที่พูดถึงในโปรแกรมออกแบบสายอากาศย่อมาจากอะไร
ก.
Next Element Comparison
ข.
Numerical Electromagnetics Code
ค.
National Electrical Code
ง.
Numeric Electrical Computation
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 60/100
120:00
นาที
60
ข้อใดต่อไปนี้อธิบายถึงสายอากาศแบบ Basic Rhombic (Unterminated)
ก.
เป็นสายอากาศทิศทางเดียว, มีสี่ด้าน แต่ละด้านมีความยาว 1/4 ของความยาวคลื่น ตรงปลายของสายอากาศต่อด้วยตัวต้านทานที่มีค่าเท่ากับอิมพีแดนซ์ของสายอากาศ
ข.
เป็นสายอากาศสองทิศทาง, มีสี่ด้าน, แต่ละด้านยาว 1 ความยาวคลื่นหรือมากกว่า ปลายด้านตรงข้ามกับจุดป้อนสัญญาณจะถูกเปิดออกจากกัน
ค.
มีสี่ด้าน, มีวงจร LC network ต่อร่วมด้วยทุกมุม ยกเว้นเว้นมุมที่ต่อกับสายนำสัญญาณ
ง.
มีสี่ด้าน, แต่ละด้านมีความยาวที่แตกต่างกัน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 61/100
120:00
นาที
61
จากรูปแบบการกระจายคลื่นในภาพ A9-2 ข้อใดต่อไปนี้คือจำนวนลำคลื่นมุมเงย (Elevation Lobes) ทางด้านหน้าของสายอากาศ
ก.
4
ข.
3
ค.
1
ง.
7
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 62/100
120:00
นาที
62
ข้อดีของการใช้ Top Loading ในการทำให้สายอากาศ HF สั้นลงคือ
ก.
มีค่า Q ต่ำลง
ข.
โครงสร้างแข็งแรงขึ้น
ค.
มีความสูญเสียมากขึ้น
ง.
เพิ่มประสิทธิภาพการแพร่กระจายคลื่น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 63/100
120:00
นาที
63
ประโยชน์ของ Loading Coil ที่ใช้ในสายอากาศ Mobile ย่านความถี่ HF คือ
ก.
เพิ่ม Bandwidth และปรับค่า SWR
ข.
ลดการสูญเสีย
ค.
ลดค่า Q
ง.
กำจัด Capacitive Reactance
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 64/100
120:00
นาที
64
ข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวบอกว่าการต่อโหลดที่ไม่แมตซ์กับสายนำสัญญาณ
ก.
Characteristic Impedance
ข.
Reflection Coefficient
ค.
Velocity Factor
ง.
Dielectric Constant
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 65/100
120:00
นาที
65
เหตุใดความยาวทางกายภาพของสายนำสัญญาณ Coaxial จึงสั้นกว่าความยาวทางไฟฟ้า
ก.
Skin Effect มีผลน้อยในสายนำสัญญาณ Coaxial
ข.
ค่า Impedance ประจำตัวจะสูงขึ้นเมื่อต่อแบบขนาน
ค.
ค่า Search Impedance จะสูงขึ้นเมื่อต่อแบบขนาน
ง.
สัญญาณทางไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ในสายนำสัญญาณช้ากว่าในอากาศ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 66/100
120:00
นาที
66
ข้อใดต่อไปนี้คือความแตกต่างที่สำคัญระหว่างสายนำสัญญาณชนิดฉนวนโพลีเอทีลีนกับชนิด ฉนวนโฟม ถ้าตัวแปรอื่นเหมือนกันหมด
ก.
ทนแรงดันไฟฟ้าได้มากกว่า
ข.
มีความสูญเสียในสายน้อยกว่า
ค.
ค่า Velocity Factor สูงกว่า
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 67/100
120:00
นาที
67
Smith Chart ใช้ระบบ Coordinate แบบใด
ก.
Voltage Circles และ Current Arcs
ข.
Resistance Circles และ Reactance Arcs
ค.
Voltage Lines และ Current Chords
ง.
Resistance Lines และ Reactance Chords
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 68/100
120:00
นาที
68
รูปของ Smith Chart ที่ A9-3 เส้นตรงที่ปรากฏคือ
ก.
เส้นแสดงค่ารีแอกแตนซ์ (Reactance Axis)
ข.
เส้นแสดงค่ากระแส (Current Axis)
ค.
เส้นแสดงค่าแรงดัน (Voltage Axis)
ง.
เส้นแสดงค่าความต้านทาน (Resistance Axis)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 69/100
120:00
นาที
69
การแพร่กระจายคลื่นโดยใช้สายอากาศ Dipole ของสถานีทวนสัญญาณ ด้วยกำลังส่ง 150 W สายนำสัญญาณสูญเสีย 2 dB, Duplexer สูญเสีย 2.2 dB, และสายอากาศมีกำลังขยาย 7 dBd จะมีกำลังการแพร่กระจายคลื่นเท่าใด
ก.
1977 W
ข.
78.7 W
ค.
420 W
ง.
286 W
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 70/100
120:00
นาที
70
การแพร่กระจายคลื่นโดยใช้สายอากาศ Dipole ของสถานีทวนสัญญาณด้วยกำลังส่ง 200 W สายนำสัญญาณสูญเสีย 4 dB, Duplexer สูญเสีย 3.2 dB, Circulator สูญเสีย 0.8 dB, และสายอากาศมีกำลังขยาย 10 dBd จะมีกำลังการแพร่กระจายคลื่นเท่าใด
ก.
317 W
ข.
2000 W
ค.
126 W
ง.
300 W
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 71/100
120:00
นาที
71
การจางหายของสัญญาณในการสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์มีลักษณะอย่างไร
ก.
ระดับสัญญาณ CW เริ่มเปลี่ยนแปลงช้า ๆ
ข.
สัญญาณกระพือผิดปกติและจางหาย
ค.
การค่อย ๆ สูญเสียสัญญาณเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น
ง.
ความถี่สะท้อนกลับมีค่าต่ำกว่าความถี่ที่ส่งออกไปหลาย Hertz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 72/100
120:00
นาที
72
ขั้นตอนใดต่อไปนี้ ที่เป็นขั้นตอนเตรียมการติดต่อสื่อสารแบบ EME
ก.
การปรับตั้งเวลาให้ตรงกันของคู่สถานีที่จะติดต่อกัน
ข.
เก็บข้อมูลและส่งต่อข้อความ Digital
ค.
เลือกเวลาของการติดต่อที่เหมาะสมโดยการเฝ้าฟังสัญญาณ Beacon จากดวงจันทร์
ง.
ส่งรหัสมอร์สด้วยความเร็วสูง เพื่อหลีกเลี่ยงการจางหายของสัญญาณ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 73/100
120:00
นาที
73
ความถี่ของวิทยุสมัครเล่นย่านใดรองรับการติดต่อแบบ Long Path ได้ดี
ก.
ย่าน 160 ถึง 40 เมตร
ข.
ย่าน 30 ถึง 10 เมตร
ค.
ย่าน 160 ถึง 10 เมตร
ง.
ย่าน 6 เมตร และ 2 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 74/100
120:00
นาที
74
ข้อใดต่อไปนี้คือสาเหตุของการแพร่กระจายคลื่นแบบ Gray Line
ก.
ช่วงเที่ยงวัน ดวงอาทิตย์อยู่กลางฟ้า ทำให้ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์เกิดความร้อนสูงสุดและ เกิดการหักเหของคลื่นวิทยุ
ข.
ในช่วงหัวค่ำ การดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ลดลงอย่างรวดเร็วในขณะที่การแตกตัวของอิออน ในชั้นบรรยากาศยังลดไม่มากพอที่จะเกิดผลกระทบต่อความถี่สูงสุดที่สามารถใช้งานได้ (MUF)
ค.
ตอนกลางคืน การดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ลดลงจนหมด ขณะที่ไอออนในชั้นบรรยากาศ ไม่เปลี่ยนแปลง
ง.
ช่วงบ่าย ชั้นบรรยากาศร้อนจัดจนทำให้มีการหักเหสะท้อนคลื่นวิทยุ และ MUF เพิ่มขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 75/100
120:00
นาที
75
รูปคลื่นชนิดใดที่ถูกสร้างขึ้นจาก Sine Wave รวมกับฮาร์มอนิกเลขคี่
ก.
Square Wave
ข.
Sine Wave
ค.
Cosine Wave
ง.
Tangent Wave
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 76/100
120:00
นาที
76
รูปคลื่นชนิดใดมีคาบเวลาช่วงขึ้นเร็วกว่าช่วงลงอย่างมีนัยสำคัญ (หรือเช่นเดียวกันในทางกลับกัน)
ก.
Cosine Wave
ข.
Square Wave
ค.
Sawtooth Wave
ง.
Sine Wave
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 77/100
120:00
นาที
77
อะไรคือข้อดีของการใช้สัญญาณแบบ Digital แทนสัญญาณ Analog เพื่อถ่ายทอดข้อมูลเดียวกัน
ก.
ใช้วงจรที่ซับซ้อนน้อยสำหรับการสร้างและตรวจสอบสัญญาณ Digital
ข.
สัญญาณ Digital มักจะใช้ Bandwidth แคบ
ค.
สัญญาณ Digital สามารถสร้างใหม่ได้หลายครั้งโดยไม่ข้อผิดพลาด
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 78/100
120:00
นาที
78
ข้อใดต่อไปนี้คือ Modulation Index ของสัญญาณเสียงแบบ FM ที่มีความเบี่ยงเบนของความถี่สูงสุด 3000 Hz ด้านใดด้านหนึ่งของความถี่พาห์ เมื่อความถี่ผสมเป็น 1000 Hz
ก.
3
ข.
0.3
ค.
3000
ง.
1000
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 79/100
120:00
นาที
79
ข้อใดต่อไปนี้คือ Modulation Index ของสัญญาณเสียงแบบ FM ที่มีความเบี่ยงเบนของความถี่สูงสุดของความถี่พาห์ บวกหรือลบ 6 kHz เมื่อผสมด้วยความถี่ 2 kHz
ก.
6000
ข.
3
ค.
2000
ง.
1
⁄
3
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 80/100
120:00
นาที
80
ข้อใดต่อไปนี้คือ Modulation Index ของสัญญาณเสียงแบบ FM ที่มีความถี่กระเพื่อมสูงสุด บวกหรือลบ 7.5 kHz เมื่อความถี่ที่นำมาผสมสูงสุดคือ 3.5 kHz
ก.
2.14
ข.
0.214
ค.
0.47
ง.
47
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 81/100
120:00
นาที
81
อะไรคือความแตกต่างระหว่างรหัส Digital Baudot กับ ASCII
ก.
Baudot ใช้ข้อมูล 4 บิตสำหรับแต่ละอักขระ, ASCII ใช้ 7 หรือ 8; Baudot ใช้ 1 ตัวอักขระเป็นรหัสการเปลี่ยนแปลง, ASCII ไม่มีรหัสการเปลี่ยนแปลง
ข.
Baudot ใช้ข้อมูล 5 บิตสำหรับแต่ละอักขระ, ASCII ใช้ 7 หรือ 8; Baudot ใช้ 2 ตัวอักขระเป็นรหัสการเปลี่ยนแปลง, ASCII ไม่มีรหัสการเปลี่ยนแปลง
ค.
Baudot ใช้ข้อมูล 6 บิตสำหรับแต่ละอักขระ, ASCII ใช้ 7 หรือ 8; Baudot ไม่มีรหัสการเปลี่ยนแปลง, ASCII ใช้ 2 อักขระเป็นรหัสการเปลี่ยนแปลง
ง.
Baudot ใช้ข้อมูล 7 บิตสำหรับแต่ละอักขระ, ASCII ใช้ 8; Baudot ไม่มีรหัสการเปลี่ยนแปลง, ASCII ใช้ 2 อักขระเป็นรหัสการเปลี่ยนแปลง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 82/100
120:00
นาที
82
รหัสมอร์สสากลความเร็ว 13 คำต่อนาที ต้องการแถบความถี่กว้างเท่าใด
ก.
ประมาณ 13 Hz
ข.
ประมาณ 26 Hz
ค.
ประมาณ 52 Hz
ง.
ประมาณ 104 Hz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 83/100
120:00
นาที
83
ข้อใดเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการวัดแรงดันเมื่อเห็นสัญญาณคลื่นไซน์บริสุทธิ์ใน Oscilloscope แบบ Analog
ก.
แรงดัน Peak-To-Peak
ข.
แรงดัน RMS
ค.
แรงดันเฉลี่ย
ง.
แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 84/100
120:00
นาที
84
ถ้า Voltmeter วัดแรงดันไฟฟ้าแบบ RMS ของสัญญาณ Sine Wave ได้ 65 V จะมีแรงดันไฟฟ้าแบบ Peak-To-Peak เท่าใด
ก.
46 V
ข.
92 V
ค.
130 V
ง.
184 V
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 85/100
120:00
นาที
85
ถ้าอ่านค่า RMS จาก Voltmeter ได้ 34 V Sine Wave นั้นจะมีค่าแรงดันสูงสุด (Peak Voltage) เท่าใด
ก.
123 V
ข.
96 V
ค.
55 V
ง.
48 V
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 86/100
120:00
นาที
86
เมื่อใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจะทราบได้อย่างไรว่ามี Carbon Monoxide (CO) ถึงระดับที่อาจเกิดอันตราย
ก.
เมื่อตรวจพบโดยกลิ่น
ข.
เมื่อตรวจพบโดยเครื่องตรวจจับเท่านั้น
ค.
เมื่อตรวจพบโดยเครื่องตรวจควันทั่วไป
ง.
ตามลักษณะสีของก๊าซที่พบ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 87/100
120:00
นาที
87
Specific Absorption Rate (SAR) คือการวัดอะไร
ก.
อัตราช่องเปิดสังเคราะห์ (Synthetic Aperture Ratio) ของร่างกายมนุษย์
ข.
อัตราการขยายสัญญาณ (Signal Amplification Rating)
ค.
อัตราการดูดซับพลังงานความถี่วิทยุของร่างกายมนุษย์
ง.
การสะท้อนพลังงานวิทยุจากพื้นที่ซึ่งไม่เคลื่อนที่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 88/100
120:00
นาที
88
ข้อใดต่อไปนี้เป็นอาการบาดเจ็บที่ได้รับจากการใช้กำลังส่งสูงในย่านความถี่ UHF และ Microwave
ก.
สูญเสียการได้ยินซึ่งเกิดจากปรากฏการโคโรนาไฟฟ้าแรงสูง
ข.
การแข็งตัวของเลือดจากสนามแม่เหล็ก
ค.
เกิดความร้อนในร่างกายจากการสัมผัสคลื่นความถี่วิทยุเมื่อเกินขีดจำกัด MPE
ง.
การรับก๊าซโอโซนจากระบบระบายความร้อน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 89/100
120:00
นาที
89
เครื่องมือในข้อใดต่อไปนี้ที่ใช้แสดงผลของสัญญาณแปลกปลอม
ก.
Spectrum Analyzer
ข.
Wattmeter
ค.
Logic Analyzer
ง.
Time-Domain Reflectometer
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 90/100
120:00
นาที
90
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการทดสอบว่ากำลังมีการ Bias ทรานซิสเตอร์แบบ Silicon NPN
ก.
วัดค่าความต้านทางระหว่างขา Base – Emitter ค่าที่ได้ประมาณ 6 ถึง 7 โอห์ม
ข.
วัดค่าความต้านทางระหว่างขา Base – Emitter ค่าที่ได้ประมาณ 0.6 ถึง 0.7 โอห์ม
ค.
วัดแรงดันระหว่างขา Base – Emitter ค่าที่ได้ประมาณ 6 ถึง 7 โวลต์
ง.
วัดแรงดันระหว่างขา Base – Emitter ค่าที่ได้ประมาณ 0.6 ถึง 0.7 โวลต์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 91/100
120:00
นาที
91
เครื่องมือใดต่อไปนี้ใช้สำหรับวิเคราะห์รายละเอียดของสัญญาณดิจิทัล
ก.
DIP meter
ข.
Oscilloscope
ค.
Ohmmeter
ง.
Q meter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 92/100
120:00
นาที
92
ข้อใดต่อไปนี้เป็นปัจจัยที่มีผลกระทบมากที่สุดต่อความแม่นยำของ Frequency Counter
ก.
การป้อนสัญญาณลดทอนที่ถูกต้อง
ข.
ฐานเวลาที่ถูกต้อง
ค.
การแบ่งรอบที่ถูกต้อง
ง.
อุณหภูมิของวงจร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 93/100
120:00
นาที
93
ถ้า Frequency Counter ที่มีความถูกต้องระบุ +/- 0.1 ppm อ่าน 146,520,000 Hz ความถี่ที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากค่าที่อ่านได้ โดยจะมีค่าที่แตกต่างเท่าใด
ก.
14.652 Hz
ข.
0.1 MHz
ค.
1.4652 Hz
ง.
1.4652 kHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 94/100
120:00
นาที
94
ข้อใดต่อไปนี้คือค่าพลังงานที่ถูกดูดซับด้วยโหลด เมื่อต่อ Power Meter ระหว่างเครื่องส่งและโหลด โดยอ่านค่าพลังงานที่ส่งออกไปได้ 100 วัตต์ และค่าพลังงานที่สะท้อนกลับมา 25 วัตต์
ก.
100 วัตต์
ข.
125 วัตต์
ค.
25 วัตต์
ง.
75 วัตต์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 95/100
120:00
นาที
95
ข้อใดคือสิ่งที่ชี้ให้เห็นว่ากระแสไฟที่อ่านได้นั้นมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อต่อ RF Ammeter ระหว่างสายอากาศและเครื่องส่ง ในกรณีมีการจูนอย่างเหมาะสม
ก.
สายนำสัญญาณอาจจะลัดวงจรลงกราวด์
ข.
เครื่องส่งสัญญาณผิดปกติ
ค.
ค่าอิมพีแดนซ์ไม่ถูกต้องระหว่างสายนำสัญญาณและสายอากาศ
ง.
มีกำลังส่งไปยังสายอากาศเพิ่มมากขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 96/100
120:00
นาที
96
จะเกิดอะไรขึ้นหากวาง DIP Meter ไว้ใกล้เกินไปกับวงจรปรับแต่งแล้วที่ต้องการตรวจสอบ
ก.
เกิดความถี่ฮาร์มอนิกส์
ข.
ค่าที่อ่านได้ไม่แม่นยำ
ค.
เกิด Cross Modulation
ง.
เกิด Intermodulation Distortion
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 97/100
120:00
นาที
97
สัญญาณชนิดใดต่อไปนี้ที่ Noise Blanker สามารถลบออกได้
ก.
สัญญาณซึ่งคงที่ทุกระดับ IF
ข.
สัญญาณรบกวนที่เกิดในช่วงความถี่ที่กว้างมาก
ค.
สัญญาณซึ่งปรากฏที่ IF เดียวเท่านั้น
ง.
สัญญาณรบกวนที่เกิดในช่วงความถี่แคบ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 98/100
120:00
นาที
98
ทำอย่างไรจึงสามารถลดสัญญาณรบกวนที่เกิดจากการเหนี่ยวนำและแพร่กระจายคลื่นที่มีต้นเหตุจาก Automobile Alternator
ก.
โดยการต่อคาปาซิเตอร์กรองความถี่อนุกรมในสายไฟเมน และคาปาซิเตอร์กันในสายจากฟิลด์
ข.
โดยการต่อไฟ DC จากแบตเตอรี่โดยตรงโดยให้สายไฟยาวที่สุดเท่าที่จะทำได้ ต่อคาปาซิเตอร์กันในสายไฟทั้งสองเส้น
ค.
โดย High-Pass Filter อนุกรมในสายไฟเมนและ Low-Pass Filter ขนานกับสายฟีลด์
ง.
โดยการต่อไฟ DC จากแบตเตอรี่โดยตรง ใส่คาปาซิเตอร์แกนร่วมที่สายไฟจาก Automobile Alternator
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 99/100
120:00
นาที
99
อะไรเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตในชั้นบรรยากาศโลก (Atmospheric Static)
ก.
การแพร่คลื่นวิทยุจากดวงอาทิตย์ (Solar Radio Frequency Emissions)
ข.
พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstroms)
ค.
พายุแม่เหล็กโลก (Geomagnetic Storms)
ง.
ฝนดาวตก (Meteor Showers)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 100/100
120:00
นาที
100
สัญญาณชนิดใดที่อาจถูกเหนี่ยวนำเข้าไปในสายไฟฟ้าที่อยู่ใกล้ ๆ เครื่องส่งวิทยุ
ก.
สัญญาณทั่วไปในความถี่เดียวกับวิทยุสื่อสาร
ข.
สัญญาณที่เกิดจากการสปาร์คของไฟฟ้า
ค.
สัญญาณแบบต่างมุมต่างเฟสของความถี่ในสายไฟฟ้า AC
ง.
ฮาร์มอนิกของความถี่ในสายไฟฟ้า AC
คำถามก่อนหน้า
คุณยังตอบคำถามไม่ครบ :
100
ข้อ จาก 100 ข้อ
(คลิกที่หมายเลขข้อที่ต้องการ เพื่อตอบคำถาม)
เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
เสร็จสิ้น