NBTC
ONE STOP SERVICE
สำนักงาน กสทช.
Home
E-Learning
E-Practice
เปลี่ยนภาษา:
Login
เข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ สำหรับคนไทย
Login for Foreigner
สำหรับเจ้าหน้าที่ กสทช.
Light
Dark
เข้าสู่ระบบ สำหรับเจ้าหน้าที่
Username
* กรุณาระบุ Username
Password
* กรุณาระบุ Password
Login
OTP
เลขที่บัตรประชาชน
* กรุณาระบุเลขที่บัตร
*โปรดกรอกเลขที่บัตรเป็นตัวเลข 13 หลัก
*เลขที่บัตรไม่ถูกต้อง
ขอรหัสผ่าน
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น ขั้นกลาง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุสมัครเล่น
ขั้นต้น
ขั้นกลาง
ขั้นสูง
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภททั่วไปประจำเรือ (GOC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ Principles of Communications
หมวดที่ 2. F.C.C. Rules & Regulations และ DSC & Alpha-Numeric ID
หมวดที่ 3. Distress, Urgency & Safety Communications และ Section-F: Survival Craft Equip & S.A.R
หมวดที่ 4. VHF-DSC Equipment & Communications และ Maritime Safety Information (M.S.I.)
หมวดที่ 5. Inmarsat Equip. & Communications และ MF-HF Equip. and Communications
แบบฝึกหัดพนักงานวิทยุคมนาคมประเภทจำกัดเขตเดินเรือทะเล (ROC)
หมวดที่ 1. General Information and System Overview และ F.C.C. Rules & Regulations
หมวดที่ 2. DSC & Alpha-Numeric ID Systems และ Distress, Urgency & Safety Communication
หมวดที่ 3. Survival Craft Equip & S.A.R, Maritime Safety Information (M.S.I.) และ VHF-DSC Equipment & Communication
เฉลย
ทดสอบอีกครั้ง
คำถามที่ 1/100
90:00
นาที
1
ความถี่ในข้อใดใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทด้วยโหมด CW
ก.
7 105 kHz 14 110 kHz 21 300 kHz 28 400 kHz
ข.
7 120 kHz 14 225 kHz 21 350 kHz 28 605 kHz
ค.
7 012 kHz 14 050 kHz 21 125 kHz 28 005 kHz
ง.
7 225 kHz 14 305 kHz 21 245 kHz 28 455 kHz
คำถามต่อไป
คำถามที่ 2/100
90:00
นาที
2
ย่านใดต่อไปนี้สามารถใช้การติดต่อสื่อสารประเภทเสียง SSB ได้
ก.
160 เมตร
ข.
30 เมตร
ค.
20 เมตร
ง.
6 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 3/100
90:00
นาที
3
ย่านใดต่อไปนี้ที่บางส่วนถูกจัดสรรไว้สำหรับการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น
ก.
80 เมตร
ข.
20 เมตร
ค.
15 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 4/100
90:00
นาที
4
ย่านใดต่อไปนี้ถูกจัดสรรไว้เพียงบางส่วนสำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางในประเทศไทย
ก.
80 และ 160 เมตร
ข.
20 เมตร
ค.
15 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 5/100
90:00
นาที
5
ย่านใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดสรรไว้สำหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย
ก.
60 เมตร
ข.
40 เมตร
ค.
12 เมตร
ง.
10 เมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 6/100
90:00
นาที
6
ข้อใดต่อไปนี้คือ WARC Band
ก.
6 / 2 / 1.25 Meter Band
ข.
10 / 15 / 20 / 40 Meter Band
ค.
12 / 17 / 30 Meter Band
ง.
80 / 160 Meter Band
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 7/100
90:00
นาที
7
ข้อใดต่อไปนี้คือ Low Band
ก.
6 / 2 / 1.25 Meter Band
ข.
10 / 15 / 20 / 40 Meter Band
ค.
12 / 17 / 30 Meter Band
ง.
80 / 160 Meter Band
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 8/100
90:00
นาที
8
คำว่า “บุคคลที่สาม” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก.
ผู้ที่มีใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น
ข.
ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง
ค.
ผู้ที่อยู่ในประเทศที่ไม่มีกิจการวิทยุสมัครเล่น
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 9/100
90:00
นาที
9
ข่าวสารประเภทใดที่สามารถส่งผ่านสถานีวิทยุสมัครเล่นให้กับบุคคลที่สามได้
ก.
ข่าวสารใดก็ได้ ถ้าไม่ได้ถูกจ้างวานให้ส่งโดยพนักงานวิทยุสมัครเล่น
ข.
เฉพาะข่าวสารที่ส่งให้กับผู้ที่มีใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น
ค.
เฉพาะข่าวสารที่เกี่ยวกับกิจการวิทยุสมัครเล่น หรือคำพูดของบุคคล หรือข้อความที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ เท่านั้น
ง.
ข่าวสารใดก็ได้ ถ้าข้อความนั้นได้ถูกบันทึกลงในสมุดบันทึกอย่างครบถ้วน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 10/100
90:00
นาที
10
เมื่อพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางอนุญาตให้ผู้อื่นใช้สถานีของตนเองติดต่อกับผู้ที่อยู่ในประเทศที่ไม่มีกิจการวิทยุสมัครเล่น ใครจะต้องรับผิดชอบ และมีความผิดเรื่องใด
ก.
พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง เพราะยินยอมให้ผู้อื่นที่ไม่มีใบอนุญาตใช้สถานีวิทยุคมนาคม
ข.
พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง เพราะติดต่อกับสถานีวิทยุคมนาคมที่ไม่ได้รับอนุญาต
ค.
ผู้ที่ใช้งาน เพราะใช้สถานีวิทยุคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุญาต
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 11/100
90:00
นาที
11
สถานีวิทยุคมนาคมที่ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ที่จัดให้เป็นกิจการรอง หมายถึง
ก.
ต้องไม่ก่อให้เกิดการรบกวนอย่างรุนแรงต่อสถานีที่จัดให้เป็นกิจการหลัก ทั้งที่ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่อยู่ก่อนหรือภายหลัง
ข.
ไม่สามารถเรียกร้องขอสิทธิคุ้มครองการรบกวน
ค.
ได้รับสิทธิคุ้มครองการรบกวนจากสถานีอื่น ๆ
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 12/100
90:00
นาที
12
หน่วยงานใดที่ให้การสนับสนุนกิจการวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก ดูแลและประสานกิจการวิทยุสมัครเล่นของประเทศสมาชิก เป็นผู้สังเกตการณ์ตลอดจนเข้าร่วมประชุมกับสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศเพื่อให้ความเห็นที่เกี่ยวข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่น
ก.
Radio Amateur Society Of Thailand under the Patronage of His Majesty the King
ข.
The Telecommunications Association of Thailand under the Royal Patronage
ค.
International Amateur Radio Union
ง.
United Nations
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 13/100
90:00
นาที
13
ประเทศใดต่อไปนี้ ไม่อยู่ในภูมิภาคเดียวกับประเทศไทย ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU)
ก.
ประเทศอินโดนีเซีย
ข.
ประเทศอังกฤษ
ค.
ประเทศญี่ปุ่น
ง.
ประเทศนิวซีแลนด์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 14/100
90:00
นาที
14
ตามข้อกำหนดของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) สหรัฐอเมริกาอยู่ในภูมิภาคใด
ก.
ภูมิภาค 1
ข.
ภูมิภาค 2
ค.
ภูมิภาค 3
ง.
ภูมิภาค 2 และ 3
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 15/100
90:00
นาที
15
ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ใน ITU Zone ใด
ก.
26
ข.
49
ค.
50
ง.
48
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 16/100
90:00
นาที
16
ข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศส่วนที่เกี่ยวกับการใช้วิทยุคมนาคมติดต่อระหว่างประเทศของพนักงานวิทยุสมัครเล่นในนามของบุคคลที่สาม (เช่นรับฝากหรือรับจ้างส่งข่าวสารของบุคคลในประเทศหนึ่งไปยังบุคคลในอีกประเทศหนึ่ง) ได้ระบุไว้ว่า
ก.
ห้ามมิให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นใช้วิทยุคมนาคมติดต่อระหว่างประเทศในนามของบุคคลที่สาม ยกเว้นจะมีการตกลงกันไว้เป็นพิเศษระหว่างหน่วยงานผู้แทนรัฐบาลของประเทศที่เกี่ยวข้องนั้น ๆ
ข.
ห้ามมิให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นใช้วิทยุคมนาคมติดต่อระหว่างประเทศในนามของบุคคลที่สามได้ ไม่ว่าจะเป็นกรณีใด ๆ ก็ตาม
ค.
อนุโลมให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นใช้สถานีวิทยุคมนาคมสมัครเล่นในการรับ-ส่งข่าวสารระหว่างประเทศเกี่ยวกับธุรกิจการเงิน การค้าได้ หากมีการตกลงกันไว้เป็นพิเศษระหว่างหน่วยงานรัฐบาลของประเทศที่เกี่ยวข้องนั้น ๆ
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 17/100
90:00
นาที
17
สถานีวิทยุประเภทใดไม่จำเป็นต้องใช้สัญญาณเรียกขานสากล
ก.
สถานีวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง
ข.
สถานีฝั่งให้บริการติดต่อวิทยุเรือเดินทะเล
ค.
สถานีภาคพื้นดินติดต่อระหว่างประเทศผ่านดาวเทียม
ง.
สถานีวิทยุถ่ายทอดสัญญาณคลื่นวิทยุไมโครเวฟภาคพื้นดิน จากเมืองหลวงไปสู่ต่างจังหวัด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 18/100
90:00
นาที
18
ข้อปฏิบัติของสถานีวิทยุสมัครเล่นในย่าน HF ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ได้แก่
ก.
สถานีวิทยุสมัครเล่นทั้งหมดให้ปิดเครื่องและถอดสายอากาศ
ข.
ให้สถานีวิทยุสมัครเล่นให้หยุดใช้งาน และให้เฝ้าฟังช่วงความถี่เพื่อการสื่อสารฉุกเฉิน
ค.
ใช้ความถี่เป็นปกติเพื่อให้สถานีที่ต้องการขอความช่วยเหลือทราบว่าจะขอความช่วยเหลือได้ที่ความถี่ใด
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 19/100
90:00
นาที
19
เมื่อใดจึงถือว่าอยู่ในสภาวะฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบัติซึ่งพนักงานวิทยุสมัครเล่นทั้งหมดจะต้องหยุดการติดต่อสื่อสาร ยกเว้นสถานีวิทยุสมัครเล่นประสานงานการสื่อสารฉุกเฉิน
ก.
เมื่อรัฐบาลประกาศสภาวะฉุกเฉิน
ข.
เมื่อ กสทช. ประกาศสภาวะฉุกเฉินทางโทรคมนาคม
ค.
เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ และระบบสื่อสารสาธารณะในพื้นที่ขัดข้อง
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 20/100
90:00
นาที
20
ควรปฏิบัติอย่างไรเมื่อได้รับสัญญาณขอความช่วยเหลือจากผู้ที่ไม่ได้เป็นพนักงานวิทยุสมัครเล่น หรือประเทศที่ไม่มีข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น
ก.
ไม่ตอบรับ เนื่องจากขัดกับระเบียบว่าด้วยการติดต่อสื่อสารกับบุคคลที่สาม
ข.
ช่วยเหลือได้เนื่องจากกฎหมายทุกข้อจะยกเว้นให้กับการให้ความช่วยเหลือในยามฉุกเฉิน
ค.
แจ้ง กสทช. ก่อนจึงจะช่วยเหลือได้
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 21/100
90:00
นาที
21
ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
ความถี่ที่ถูกกำหนดโดย IARU ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อใช้ในการรับส่ง digital mode
ข.
ความถี่ที่ถูกกำหนดโดย IARU ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานระหว่างประเทศในกรณีฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ
ค.
ความถี่ที่ถูกกำหนดโดย IARU ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อใช้ในการแข่งขัน
ง.
ความถี่ที่ถูกกำหนดโดย IARU ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อใช้ในการทดสอบสายอากาศ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 22/100
90:00
นาที
22
เหตุใดจึงต้องกำหนดความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA)
ก.
เพื่อให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกได้ใช้สำหรับฝึกฝนตนเองก่อนใช้ติดต่อจริง
ข.
ใช้สำหรับส่งสัญญาณ Beacon
ค.
เพื่อให้เป็นที่ทราบตรงกันทั่วโลกในเวลาเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติว่าต้องใช้ความถี่ใดในการติดต่อ เพื่อลดการรบกวนสถานีสื่อสารฉุกเฉิน และเพื่อให้พนักงานวิทยุสมัครเล่นประเทศอื่นติดตามข่าวสารรวมถึงให้ความช่วยเหลือถ้าจำเป็น
ง.
เพื่อใช้ในการติดต่อผ่านดาวเทียมสื่อสารวิทยุสมัครเล่น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 23/100
90:00
นาที
23
ในสภาวะปกติ พนักงานวิทยุสมัครเล่นสามารถใช้ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) ได้หรือไม่
ก.
ไม่ได้ ยกเว้นความถี่เต็มจนไม่สามารถใช้งานได้
ข.
ไม่ได้ เพราะเป็นความถี่ที่กำหนดให้ใช้เฉพาะกรณีฉุกเฉินเท่านั้น
ค.
ได้ แต่ควรปล่อยให้ว่างไว้เผื่อมีผู้แจ้งเหตุฉุกเฉิน
ง.
ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 24/100
90:00
นาที
24
ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) ย่าน 40 meter ของประเทศไทยคือข้อใด
ก.
7.110 MHz
ข.
7.128 MHz
ค.
7.050 MHz
ง.
7.200 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 25/100
90:00
นาที
25
ความถี่ Emergency Centre of Activity Frequency (CoA) +/- 5 kHz ใช้กับโหมดการสื่อสารใด
ก.
โหมดเสียงพูดเท่านั้น
ข.
โหมดดิจิทัลเท่านั้น
ค.
โหมดภาพเท่านั้น
ง.
ใช้ได้ทุกโหมด
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 26/100
90:00
นาที
26
วัตถุประสงค์ของ Q code คืออะไร
ก.
เพื่อให้การติดต่อสื่อสารทางวิทยุโทรเลข (CW) สะดวกและใช้เวลาน้อยที่สุด
ข.
เพื่อใช้แสดงเอกลักษณ์ของนักวิทยุสมัครเล่น
ค.
เพื่อใช้เป็นคำพูดย่อความสำหรับพนักงานวิทยุทั่วไป
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 27/100
90:00
นาที
27
“QTR” หมายความว่า
ก.
ขณะนี้
ข.
เวลานี้
ค.
ขอทราบเวลาที่แน่นอนขณะนี้ ? / เวลาที่แน่นอนขณะนี้คือ .......... น.
ง.
ณ ขณะนี้
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 28/100
90:00
นาที
28
การแจ้งให้คู่สถานีทราบว่ากำลังถูกรบกวนโดย "ประจุไฟฟ้าในบรรยากาศ" ท่านจะใช้ Q Signal ใด
ก.
QRM
ข.
QRO
ค.
QRK
ง.
QRN
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 29/100
90:00
นาที
29
หากคู่สถานีของท่านส่งสัญญาณ QRS มา หมายความว่าอย่างไร
ก.
ต้องการให้ท่านลดกำลังส่งต่ำสุด
ข.
ต้องการให้ท่านลดความเร็วในการส่ง
ค.
ต้องการให้ท่านเปลี่ยนความถี่ใช้งานต่ำลง
ง.
ต้องการให้ท่านลด Gain ของ Microphone ให้ต่ำขึ้น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 30/100
90:00
นาที
30
“QTR" มีความหมายเชิงคำถามว่าอย่างไร
ก.
เวลาที่แน่นอนเป็นเวลาใด
ข.
ท่านต้องการให้ข้าพเจ้าปิดสถานีหรือไม่
ค.
ต้องการให้ข้าพเจ้าเปลี่ยนความถี่หรือไม่
ง.
สัญญาณของข้าพเจ้าจางหายหรือไม่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 31/100
90:00
นาที
31
Full Break-in ในรูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ CW มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
ส่งสัญญาณด้วยความยาวเสียงที่ใกล้เคียงกัน
ข.
ส่งโทนเสียงที่ความถี่เสียงมากกว่า 1000 Hz
ค.
การส่งสัญญาณโดยใช้ความเร็วสูงสุด
ง.
สามารถได้ยินสถานีอื่นที่เรียกเข้ามาขณะกำลังส่งสัญญาณ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 32/100
90:00
นาที
32
เมื่อพนักงานวิทยุส่งรหัสมอร์ส “CL” ลงท้ายการส่งสัญญาณ หมายความว่า
ก.
ปล่อยให้ความถี่ว่าง
ข.
กำลังใช้วิธี Full Break-in
ค.
กำลังรับฟังเฉพาะสถานีที่ระบุไว้เท่านั้น
ง.
เลิกใช้ความถี่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 33/100
90:00
นาที
33
ความหมายของคำว่า “Lid” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น คือ
ก.
Light Interactive Diode
ข.
Poor Operator
ค.
Low Interactive Diode
ง.
Liquid Internal Display
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 34/100
90:00
นาที
34
ความหมายของคำว่า “Break” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น คือ
ก.
ขอแทรกการติดต่อ
ข.
สัญญาณห้ามพูด
ค.
แจ้งการหยุดส่งสัญญาณ
ง.
แจ้งหยุดพักการส่งสัญญาณ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 35/100
90:00
นาที
35
ความหมายของคำว่า “Breaker” ในกิจการวิทยุสมัครเล่น คือ
ก.
ผู้ขอแทรกการติดต่อ
ข.
อุปกรณ์ตัดไฟฟ้าในสถานี
ค.
สถานีหยุดทำงานชั่วคราว
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 36/100
90:00
นาที
36
คำย่ออันเป็นสัญลักษณ์สำหรับใช้แทนภาคส่งหรือเครื่องส่งวิทยุคือ
ก.
TX
ข.
RX
ค.
RT
ง.
SX
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 37/100
90:00
นาที
37
ในการสื่อสารโหมด CW คำย่อใดหมายความว่าไม่สามารถรับสัญญาณใด ๆ ได้
ก.
NOT
ข.
NIL
ค.
NON
ง.
NI
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 38/100
90:00
นาที
38
สถานีที่ส่งข้อความต่อท้ายสัญญาณเรียกขานด้วยคำว่า QRP ในการสื่อสารโหมด CW มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
เป็นสถานีชั่วคราวแบบ Portable Station
ข.
เป็นสถานีที่ใช้กำลังส่งต่ำไม่เกิน 5 วัตต์
ค.
เป็นสถานีที่กำลังทดลองการออกอากาศ
ง.
เป็นสถานีที่กำลังออกอากาศในรายการแข่งขัน
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 39/100
90:00
นาที
39
การส่งสัญญาณ “CQ DX” โดยทั่วไปใช้เพื่อ
ก.
เป็นการเรียกโดยปกติ สำหรับสถานีทั่วไป
ข.
ผู้เรียกกำลังฟังสถานีที่อยู่ในประเทศเยอรมัน
ค.
ต้องการติดต่อกับสถานีที่อยู่นอกประเทศของตน
ง.
แจ้งเหตุอันตราย ขอความช่วยเหลือ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 40/100
90:00
นาที
40
กรณีรับสัญญาณเรียก CQ DX CQ DX CQ DX DE HS0AC HS0AC HS0AC UP 5 AR K ถ้าจะตอบการเรียกขานนี้ ข้อปฏิบัติในข้อใดถูกต้อง
ก.
ตอบโดยใช้ความถี่ส่งสูงกว่าความถี่รับ 5 kHz
ข.
ตอบโดยใช้ความถี่ส่งสูงกว่าความถี่รับ 5 MHz
ค.
ตอบโดยใช้ความถี่ส่งสูงกว่าความถี่รับ 5 Hz
ง.
ตอบโดยใช้ความถี่ส่งสูงกว่าความถี่รับ 5 GHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 41/100
90:00
นาที
41
ข้อใดคือคำลงท้ายในระหว่างการติดต่อสื่อสารประเภทเสียง เมื่อต้องการให้คู่สถานีตอบกลับมา
ก.
Over
ข.
Krub
ค.
Clear
ง.
ไม่มีข้อถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 42/100
90:00
นาที
42
ในการ Contact กันด้วยวิทยุโทรศัพท์เมื่อต้องการตอบรับว่าสามารถรับข้อความได้ถูกต้องทั้งหมดจะต้องใช้ข้อความใด
ก.
OK
ข.
Roger
ค.
Go Ahead
ง.
Clear
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 43/100
90:00
นาที
43
คำเฉพาะในกิจการวิทยุสมัครเล่น Bug Key มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
Manual Key
ข.
Semi Auto Key
ค.
Electronic Keyer
ง.
Paddle Key
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 44/100
90:00
นาที
44
การติดต่อสื่อสารประเภท Continuous Wave มักจะอยู่ช่วงใดของความถี่
ก.
ตอนต้นของความถี่
ข.
ตอนกลางของความถี่
ค.
ตอนปลายของความถี่
ง.
สามารถใช้งานได้ตลอดช่วงความถี่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 45/100
90:00
นาที
45
หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสารทั่วไปในโหมด CW ที่สำคัญที่สุดคือ
ก.
ส่งด้วยความเร็วสูงสุดเพื่อเพิ่มจำนวนสถานีที่ติดต่อได้ให้มากที่สุด
ข.
ใช้ Q Code ให้น้อยที่สุด
ค.
ส่งด้วยความเร็วที่ใกล้เคียงกับคู่สถานี
ง.
ใช้กำลังส่งที่เหมาะสมกับระยะทางของประเทศที่ต้องการ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 46/100
90:00
นาที
46
ฉนวนไฟฟ้า คือ
ก.
สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ดี
ข.
สสารที่มีคุณสมบัติไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ค.
สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้บางเวลา
ง.
สสารที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ปานกลาง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 47/100
90:00
นาที
47
ถ้าใช้ Volt Meter วัดแรงดันไฟฟ้า AC ได้ 18 โวลต์ ถ้าใช้ Oscilloscope วัดจะอ่านค่าแรงดันสูงสุดได้เท่าไร
ก.
25 โวลต์
ข.
12 โวลต์
ค.
20 โวลต์
ง.
12.5 โวลต์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 48/100
90:00
นาที
48
จงหาย่านความถี่ และคาบเวลา ของความยาวคลื่น 12 เมตร
ก.
25 MHz / 0.04 μs
ข.
25 Hz / 0.04 μs
ค.
25 GHz / 0.004 μs
ง.
25 kHz / 0.04 μs
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 49/100
90:00
นาที
49
ค่าของ Spurious ใช้หน่วยวัดใด
ก.
dB Ohm
ข.
dB Watt
ค.
dB Amp
ง.
dB micro Amp
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 50/100
90:00
นาที
50
เครื่องส่งวิทยุโทรเลขเครื่องหนึ่งมีกำลัง 1 วัตต์ ป้อนเข้าภาค RF Power Amplifier ที่มีอัตราขยายเท่ากับ 3 dB อยากทราบว่ากำลังส่งที่สายอากาศในข้อใดถูกต้อง
ก.
1 Watt
ข.
3 Watts
ค.
2 Watts
ง.
2.5 Watts
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 51/100
90:00
นาที
51
ภาพต่อไปนี้แสดงคุณสมบัติของวงจรชนิดใด
ก.
High Pass Filter
ข.
Low Pass Filter
ค.
Band Pass Filter
ง.
Band Stop Filter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 52/100
90:00
นาที
52
ROM มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.
Read Only Memory
ข.
Resistor Operated Memory
ค.
Random Operational Memory
ง.
Resistant To Overload Memory
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 53/100
90:00
นาที
53
ถ้าเราป้อนสัญญาณเสียงมากเกินไป (Over Modulation) จะมีผลเป็นเช่นไร
ก.
เครื่องเสีย (พัง)
ข.
ความถี่ชิฟต์
ค.
แบนด์วิดธ์กว้าง
ง.
เสียงบี้
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 54/100
90:00
นาที
54
เครื่องนับความถี่ (Frequency Counter) เครื่องหนึ่งมีความผิดพลาดเท่ากับ ±1.0 ppm ถ้านับความถี่ ได้เท่ากับ 146,520,000 Hertz ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นคือ
ก.
±162.2 Hz
ข.
±14.552 kHz
ค.
±146.52 Hz
ง.
±1.4652 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 55/100
90:00
นาที
55
DIP Meter ใช้วัดอะไร
ก.
สัญญาณวิทยุ
ข.
ทิศทางสนามแม่เหล็ก
ค.
ความถี่ Resonance ของสายอากาศ
ง.
Resistance ของสายอากาศ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 56/100
90:00
นาที
56
สายนำสัญญาณมีอักษรกำกับไว้ว่า 5C-2V สายนำสัญญาณเส้นนี้มีอิมพีแดนซ์เท่าไร
ก.
50 โอห์ม
ข.
50.2 โอห์ม
ค.
75 โอห์ม
ง.
300 โอห์ม
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 57/100
90:00
นาที
57
ข้อใดคือค่า SWR ของสายนำสัญญาณ 50 โอห์ม เมื่อต่อกับสายอากาศที่มีความต้านทาน 50 โอห์ม
ก.
1:1
ข.
1.1:1
ค.
2:1
ง.
0:0
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 58/100
90:00
นาที
58
สายอากาศ Quad จัดอยู่ในสายอากาศประเภทใด
ก.
Vertical Polarization Antenna
ข.
Horizontal Polarization Antenna
ค.
Loop Antenna
ง.
Ground Plane Antenna
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 59/100
90:00
นาที
59
การสื่อสารประเภทใดที่ใช้ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ซึ่งเรียกว่าคลื่นฟ้า
ก.
การสื่อสารใยแก้วนำแสง
ข.
การสื่อสารดาวเทียม
ค.
การสื่อสารที่ใช้ความถี่สูงหรือคลื่นสั้น
ง.
การส่งสัญญาณโทรทัศน์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 60/100
90:00
นาที
60
ชั้นบรรยากาศที่มีผลต่อการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุย่าน HF โดยตรง คือ
ก.
โทรโปสเฟียร์
ข.
สตราโตสเฟียร์
ค.
ไอโอโนสเฟียร์
ง.
แมนีโตสเฟียร์
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 61/100
90:00
นาที
61
เพราะเหตุใดปริมาณอิเล็กตรอนอิสระในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ในตอนกลางวันจึงมีมากกว่า ในตอนกลางคืน
ก.
กลางวันอากาศร้อน
ข.
ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ในตอนกลางวันอยู่สูงกว่าในตอนกลางคืน
ค.
ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ได้รับรังสี EUV จากดวงอาทิตย์ ทำให้โมเลกุลของออกซิเจนเกิดการแตกตัว
ง.
บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ชั้น E มารวมตัวกับชั้น F
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 62/100
90:00
นาที
62
ช่วงความถี่ใดที่เหมาะกับการแพร่กระจายคลื่นในชั้นไอโอโนสเฟียร์
ก.
LF (Low Frequency)
ข.
MF (Medium Frequency)
ค.
HF (High Frequency)
ง.
VHF (Very High Frequency)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 63/100
90:00
นาที
63
การสะท้อนกลับจากท้องฟ้าคืนสู่ผิวโลกของคลื่นความถี่วิทยุเกิดจากสิ่งใด
ก.
ก้อนเมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์
ข.
ปริมาณอิเล็กตรอนในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์
ค.
หยดฝนในชั้นบรรยากาศ
ง.
เกล็ดน้ำแข็งในชั้นไอโซเทอมอล
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 64/100
90:00
นาที
64
D Layer ลดทอนคลื่นความถี่ใดมากที่สุด
ก.
1 MHz
ข.
10 MHz
ค.
100 MHz
ง.
1,000 MHz
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 65/100
90:00
นาที
65
การ Fade Out ของคลื่นวิทยุ AM เกิดจากผลของสิ่งใด
ก.
สัญญาณหลุดพ้นช่วง LOS
ข.
ความสูงของชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์เปลี่ยน
ค.
ความชื้นในก้อนเมฆดูดกลืนสัญญาณ
ง.
มีฝนตกในบางบริเวณ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 66/100
90:00
นาที
66
ในการเลือกซื้อเครื่องจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อใช้กับเครื่องรับ-ส่งวิทยุจะต้องทราบคุณสมบัติทางไฟฟ้าอะไรบ้าง
ก.
แรงดันและกระแสไฟฟ้าที่จ่ายออกมามีขนาดเพียงพอหรือไม่
ข.
มีวงจรรักษาขนาดของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกมาให้คงที่หรือไม่
ค.
มีวงจรป้องกันคลื่นวิทยุรบกวนหรือไม่
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 67/100
90:00
นาที
67
เมื่อฟิวส์ที่อยู่ในเครื่องรับ-ส่งวิทยุขาด วิธีเปลี่ยนฟิวส์ที่ถูกต้องคือข้อใด
ก.
ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้าเท่ากับของเดิม
ข.
ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้ามากกว่าของเดิม
ค.
ใส่ฟิวส์ที่ทนกระแสไฟฟ้าน้อยกว่าของเดิม
ง.
ใช้ลวดทองแดงเส้นใหญ่แทนของเดิม
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 68/100
90:00
นาที
68
ข้อใดคือประโยชน์ของการต่อสายดิน (Ground) กับเครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้า
ก.
เพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร
ข.
เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากเครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้าไหลผ่านตัวเราขณะที่เราสัมผัสกับเครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น ๆ
ค.
เป็นการระบายความร้อนให้กับเครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้า
ง.
เพื่อป้องกันฟ้าผ่า
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 69/100
90:00
นาที
69
ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิธีปฏิบัติเพื่อลดผลของพลังงาน RF ตกค้างบนอุปกรณ์เครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้าในสถานีวิทยุสมัครเล่น
ก.
เชื่อมต่อสายดิน (Ground) ของอุปกรณ์เครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมดลงดิน
ข.
ติดตั้ง RF ฟิลเตอร์อนุกรมกับสายดิน (Ground)
ค.
ใช้กราวด์ลูป (Ground Loop) ที่มีความเป็นตัวนำที่ดีที่สุด
ง.
ติดตั้งแกนเฟอไรต์ (Ferrite Bead) บนสายดิน (Ground) ที่ต่อไปยังอุปกรณ์เครื่องวิทยุและอุปกรณ์ไฟฟ้า
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 70/100
90:00
นาที
70
ความถี่วิทยุสามารถทำอันตรายต่อส่วนใดของร่างกายได้ง่ายที่สุด
ก.
เยื่อบุนัยน์ตา
ข.
แก้วหู
ค.
กล้ามเนื้อหัวใจ
ง.
เยื่อสมอง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 71/100
90:00
นาที
71
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าย่านความถี่ใดที่เป็นอันตรายแต่ไม่เกิดในรูปของความร้อน
ก.
ย่านความถี่สูงมาก
ข.
ย่านความถี่สูง
ค.
ย่านความถี่ต่ำ
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 72/100
90:00
นาที
72
สัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test) นิยมนำมาใช้ในการทดสอบหาค่าของอะไรของเครื่องวิทยุ
ก.
วัดอัตราการขยายของเครื่องวิทยุ SSB
ข.
วัดหาค่ากำลังส่งของเครื่องวิทยุ SSB
ค.
คำนวณหาค่ากำลังส่ง RMS ของเครื่องวิทยุ SSB
ง.
คำนวณหาค่ากำลังส่ง Peak Envelope Power (PEP) ของเครื่องวิทยุ SSB
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 73/100
90:00
นาที
73
ข้อห้ามสำหรับการใช้สัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test) คือ
ก.
ใช้กำลังส่งมากกว่า 1 กิโลวัตต์
ข.
โทนเสียงที่ใช้เป็น Harmonic ซึ่งกันและกัน
ค.
ใช้ขณะมีสัญญาณ Interference จากวิทยุกระจายเสียง
ง.
ความต้านทานของพื้นดินมีค่าน้อยกว่า 2 Ohm ต่อตารางเมตร
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 74/100
90:00
นาที
74
อะไรคือตัววัดประสิทธิภาพของเครื่องส่งโดยใช้สัญญาณทดสอบสองโทน (Two-Tone Test)
ก.
ความเป็นเชิงเส้น (Linearity)
ข.
คลื่นพาห์และการกำจัดความถี่ด้านที่ไม่ต้องการ
ค.
เปอร์เซ็นต์ของ Frequency Modulation
ง.
เปอร์เซ็นต์ของคลื่นพาห์ที่เคลื่อนไปบนช่วงความถี่
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 75/100
90:00
นาที
75
เครื่องมือที่ใช้วัดค่ากำลังส่งที่ออกจากเครื่องรับ-ส่งวิทยุ คือ
ก.
AF Power Meter
ข.
RF Power Meter
ค.
DIP Meter
ง.
Field Strength Meter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 76/100
90:00
นาที
76
ข้อดีของการใช้ RF Linear Amplifier แบบ Transistor คือ
ก.
ให้กำลังส่งสูงกว่า
ข.
มีขนาดเล็กกะทัดรัด
ค.
ใช้แรงดันไฟฟ้าสูง
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 77/100
90:00
นาที
77
ข้อใดต่อไปนี้คือคุณสมบัติที่ดีของวงจรขยาย Class C
ก.
มีประสิทธิภาพสูงในการขยายสัญญาณ
ข.
มีการอัตราขยายสัญญาณเป็นเชิงเส้น
ค.
ไม่ต้องใช้วงจรเพิ่มเติมเพื่อปรับแต่งสัญญาณ
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 78/100
90:00
นาที
78
การส่งคลื่นพาห์ออกไปเป็นจังหวะสั้นบ้างยาวบ้างนั้นเราใช้อุปกรณ์ใดเป็นตัวกำหนดจังหวะ
ก.
เปิด-ปิดสวิตช์ไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าของเครื่องส่ง
ข.
เครื่องเคาะสัญญาณหรือ Key
ค.
ถอดสายอากาศสลับกันไปมาให้เป็นจังหวะ
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 79/100
90:00
นาที
79
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก.
ใช้ Balun แปลง Impedance ขนาด 1:1 กับสายอากาศ Qubical Quad ได้
ข.
ใช้ Dynamic Microphone กับเครื่องวิทยุระบบ Single Side Band ได้
ค.
ใช้ Iambic Telegraph Key ได้โดยไม่จำเป็นต้องอาศัย Electronic Keyer
ง.
ใช้ Straight Telegraph Key ได้โดยจำเป็นต้องอาศัย Electronic Keyer
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 80/100
90:00
นาที
80
การรบกวนของคลื่นวิทยุใช้ความถี่เดียวกันอาจเกิดจาก
ก.
Intermodulation
ข.
มีสัญญาณแรง ๆ ส่งอยู่ในความถี่ใกล้เคียง
ค.
สถานีวิทยุหลาย ๆ สถานีตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน
ง.
Desensitization
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 81/100
90:00
นาที
81
เครื่องรับ-ส่งวิทยุ 2 เครื่องใช้งานต่างความถี่กันแต่สถานีอยู่บริเวณเดียวกัน สัญญาณสามารถเกิดการรบกวนกันเองได้ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุใด
ก.
Intermodulation
ข.
Harmonic
ค.
Spurious Emission
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 82/100
90:00
นาที
82
ข้อใดต่อไปนี้ทำให้เกิดการรบกวนที่เรียกว่า TVI
ก.
Non Linearity ของเครื่องรับ TV
ข.
การเหนี่ยวนำผ่านทาง AC Line
ค.
มนุษย์สร้างขึ้น
ง.
ถูกทุกข้อ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 83/100
90:00
นาที
83
อุปกรณ์ในข้อใดที่ติดตั้งไว้ระหว่างสายอากาศกับเครื่องรับโทรทัศน์ เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนจากสถานีวิทยุที่อยู่ใกล้เคียง
ก.
Band Pass Filter
ข.
Low Pass Filter
ค.
High Pass Filter
ง.
Line Filter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 84/100
90:00
นาที
84
การแก้ไขปัญหาเครื่องส่งวิทยุรบกวนของเครื่องรับโทรทัศน์โดยการใช้ Filter จะต้องต่อในลักษณะใด
ก.
ต่อระหว่างเครื่องส่งวิทยุกับสายอากาศ โดยให้อยู่ใกล้กับเครื่องส่งวิทยุมากที่สุดและต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ข.
ต่อระหว่างเครื่องส่งวิทยุกับสายอากาศ โดยให้อยู่ใกล้กับสายอากาศมากที่สุดและต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ค.
ต่อด้านหน้าภาค RF Power Amplifier ของเครื่องส่งวิทยุและต่อสายดิน (Ground) ด้วย
ง.
ต่อกึ่งกลางระหว่างสายนำสัญญาณระหว่างเครื่องส่งวิทยุกับสายอากาศและต่อสายดิน (Ground) ด้วย
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 85/100
90:00
นาที
85
คลื่นความถี่วิทยุและความถี่ฮาร์มอนิกที่ถูกเหนี่ยวนำผ่านสายไฟฟ้ากระแสสลับ เข้าไปรบกวนอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ นั้นสามารถป้องกันได้โดยใช้วงจรกรองความถี่ใด
ก.
AC Line Filter
ข.
Linear Filter
ค.
Low Pass Filter
ง.
Band Pass Filter
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 86/100
90:00
นาที
86
การสื่อสารด้วยรหัสมอร์ส ประกอบด้วย
ก.
เสียงสั้นและยาว
ข.
เครื่องหมายจุดและขีด
ค.
ขนาดใหญ่และเล็ก
ง.
สัญญาณสั้นและยาว จังหวะ และระยะห่าง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 87/100
90:00
นาที
87
ในการส่งรหัสมอร์ส ระยะห่างระหว่างสัญญาณเสียงสั้นยาวที่ประกอบเป็นตัวอักษรนั้นมีความยาวเท่าใด
ก.
เท่ากับสัญญาณเสียงสั้น
ข.
สามเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ค.
เจ็ดเท่าของสัญญาณเสียงสั้น
ง.
ไม่มีข้อใดถูก
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 88/100
90:00
นาที
88
ข้อความ ∙∙−∙ −∙∙∙ (ดิดิดาดิด ดาดิดิดิด) หมายความว่า
ก.
ได้หมดถ้าสดชื่น
ข.
รับข้อความชัดเจน
ค.
มีเสียงรบกวนสูง
ง.
เฟสบุ๊ค
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 89/100
90:00
นาที
89
ข้อความ ∙∙∙∙∙ −∙ −∙ (ดิดิดิดิดิด ดาดิด ดาดิด) ในการแข่งขันหมายถึง
ก.
And
ข.
ตัวเลขแบบย่อที่ส่งในการแลกเปลี่ยน
ค.
หมดข้อความ
ง.
กรุณาส่งซ้ำอีกครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 90/100
90:00
นาที
90
ข้อใดใช้ในการร่ำลาของ QRP'er
ก.
−−∙∙∙ ∙∙−−− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดาดาดา)
ข.
−−∙∙∙ ∙∙∙−− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดาดา)
ค.
−−∙∙∙ ∙∙∙∙− (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดิดา)
ง.
−−∙∙∙ ∙∙∙∙∙ (ดาดาดิดิดิด ดิดิดิดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 91/100
90:00
นาที
91
ข้อความ ∙−∙−∙ (ดิดาดิดาดิด) หมายความว่า
ก.
สิ้นสุดข้อความ
ข.
ข้าพเจ้าอยู่ที่
ค.
ความถี่ว่างหรือไม่
ง.
นักวิทยุสมัครเล่น
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 92/100
90:00
นาที
92
QTC คือข้อใด
ก.
−−∙− ∙ −−∙− (ดาดาดิดา ดิด ดาดาดิดา)
ข.
−−∙− − −∙−− (ดาดาดิดา ดา ดาดิดาดา)
ค.
−−∙− − ∙∙∙∙ (ดาดาดิดา ดา ดิดิดิดิด)
ง.
−−∙− − −∙−∙ (ดาดาดิดา ดา ดาดิดาดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 93/100
90:00
นาที
93
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก.
กรุณาส่งช้าลง −−∙− ∙−∙ −−∙− (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดาดิดา)
ข.
สัญญาณจางหาย −−∙− ∙∙∙ −∙∙∙ (ดาดาดิดา ดิดิดิด ดาดิดิดิด)
ค.
เวลาเท่าใด −−∙− − ∙−∙ (ดาดาดิดา ดา ดิดาดิด)
ง.
ท่านเดินทางไปที่ใด −−∙− ∙−∙ −∙∙ (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 94/100
90:00
นาที
94
ข้อความ −∙−∙ −−∙− − ∙ ∙∙∙ − (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา ดา ดิด ดิดิดิด ดา) หมายความว่า
ก.
มีการขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน เร่งด่วน
ข.
ความถี่ว่างหรือไม่
ค.
กำลังแข่งขัน
ง.
ทดสอบสัญญาณด้วยรหัสมอร์ส
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 95/100
90:00
นาที
95
ข้อความในข้อใดต่อไปนี้นิยมใช้ในการรายงานสัญญาณด้วยรหัสมอร์สทุกย่านความถี่
ก.
∙−∙ ∙∙∙ − (ดิดาดิด ดิดิดิด ดา)
ข.
−−∙− ∙−∙ −∙− (ดาดาดิดา ดิดาดิด ดาดิดา)
ค.
−−∙− ∙∙∙ ∙− (ดาดาดิดา ดิดิดิด ดิดา)
ง.
−∙ ∙∙ ∙−∙∙ (ดาดิด ดิดิด ดิดาดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 96/100
90:00
นาที
96
เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ −∙−∙ −−∙− −∙ ∙− (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา ดาดิด ดิดา) เราควรทำอย่างไร
ก.
เคาะส่งสัญญาณเรียกขานของเราทันที เพื่อติดต่อกับสถานีต้นทาง
ข.
เคาะส่งสัญญาณเรียกขานของเราทันที เพื่อติดต่อกับสถานีต้นทาง
ค.
รีบติดต่อกับสถานีประเทศหายาก
ง.
ไม่ต้องส่งข้อความใด ๆ
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 97/100
90:00
นาที
97
ระหว่าง −∙− (ดาดิดา) กับ −∙−−∙ (ดาดิดาดาดิด) ตอนลงท้ายข้อความ ใช้ต่างกันอย่างไร
ก.
ไม่แตกต่างกัน
ข.
ห้ามใช้เมื่อติดต่อกับคู่สถานี
ค.
−∙− (ดาดิดา) ใช้จบข้อความเฉพาะคู่สถานี −∙−−∙ (ดาดิดาดาดิ) ใช้จบข้อความเมื่อยังไม่มี คู่สถานี
ง.
−∙−−∙ (ดาดิดาดาดิ) ใช้จบข้อความเฉพาะคู่สถานี −∙− (ดาดิดา) ใช้จบข้อความเมื่อยังไม่มี คู่สถานี
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 98/100
90:00
นาที
98
−∙−∙ −−∙− ∙− ∙∙∙ (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา ดิดา ดิดิดิด) หมายความว่า
ก.
กรุณารอสักครู่
ข.
เรียกสถานีทั่วไป
ค.
เจาะจงเรียกเฉพาะสถานีในทวีปยุโรป
ง.
เจาะจงเรียกเฉพาะสถานีในทวีปเอเชีย
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 99/100
90:00
นาที
99
ข้อใดคือการส่งสัญญาณที่หมายถึงเครื่องหมาย “ทับ” ( / )
ก.
−∙∙−∙ (ดาดิดิดาดิด)
ข.
−∙−−∙ (ดาดิดาดาดิด)
ค.
−∙−−∙− (ดาดิดาดาดิดา)
ง.
−−−∙∙∙ (ดาดาดาดิดิดิด)
คำถามก่อนหน้า
คำถามต่อไป
คำถามที่ 100/100
90:00
นาที
100
เราจะใช้สัญญาณ −∙−∙ −−∙− (ดาดิดาดิด ดาดาดิดา) เมื่อใด
ก.
เพื่อยกเลิกข้อความก่อนหน้า
ข.
เพื่อขอติดต่อกับสถานีใดก็ได้
ค.
เพื่อแจ้งว่าหมดข้อความ
ง.
เพื่อขอทราบสัญญาณเรียกขานของท่านอีกครั้ง
คำถามก่อนหน้า
คุณยังตอบคำถามไม่ครบ :
100
ข้อ จาก 100 ข้อ
(คลิกที่หมายเลขข้อที่ต้องการ เพื่อตอบคำถาม)
เลือก
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
เสร็จสิ้น